ประวัติโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสิริราษฎร์ประดิษฐ์ระบบการศึกษา
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันการให้อาหารเสริม มีการดำเนินการ

ประวัติโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสิริราษฎร์ประดิษฐ์

หมู่ที่ ๑๖ บ้านสระขาว ตำบลละแม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร
เนื่องจากราษฎรในพื้นที่มีความเดือดร้อนเรื่องการศึกษาของเด็ก เพราะโรงเรียนประถมศึกษาอยู่ห่างไกลจากหมู่บ้านประมาณ ๗ กิโลเมตร และเส้นทางคมนาคมลำบาก เดินทางไม่สะดวก ดังนั้นนายธงชัย มีเพียร รักษาการครูใหญ่โรงเรียนบ้านทับใหม่ ร่วมกับราษฎรในพื้นที่และพระครูสิริวัฒนาภรณ์ เจ้าคณะตำบลทุ่งหลวง ขอบริจาคที่ดินจากประชาชน แล้วดำเนินการก่อสร้างอาคารกึ่งถาวร ขนาด ๗ x ๒๑ เมตร โดยบริษัทแพปลาจังหวัดยะลา บริจาคเงินซื้อกระเบื้อง จำนวน ๒๐,๐๐๐ บาท ต่อจากนั้นพระครูสิริวัฒนาภรณ์ ได้ขอครูจากกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดน เข้ามาดำเนินการสอน
โรงเรียนมีพื้นที่ทั้งหมด ๑๖ ไร่

ระบบการศึกษา
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนสิริราษฎร์ เป็นโรงเรียนที่ตั้งขึ้นในสังกัดกรมตำรวจ พื้นที่รับผิดชอบของกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
โรงเรียนเปิดทำการสอนตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๑ โดยรับเด็กจากหมู่บ้านสระขาว บ้านเนินสันติ ดำเนินการสอนเป็น ๒ ภาคเรียน ดังนี้
  • ภาคเรียนที่ ๑ เปิด ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๙ ถึง ๑๐ ตุลาคม ๒๕๓๙
  • ภาคเรียนที่ ๒ เปิด ๑ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ ถึง ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๐

  • อาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก
    ทางโรงเรียนมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ดังนี้
    อาคารสถานที่
    ผู้ให้การสนับสนุน
    ๑. อาคารเรียน ๑ พ่อค้าประชาชน
    ๒. อาคารเรียน ๒ กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑ และกองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑๖
    ๓. ห้องพยาบาล ลูกเสือชาวบ้านในพื้นที่
    ๔. โรงอาหาร ประชาชนในพื้นที่
    ๕. ห้องน้ำ – ห้องสุขา กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑
    ๖. สนามเด็กเล่น วิทยาลัยเทคนิคชุมพร
    ๗. บ้านพักครู ๔ หลัง คณะครู ประชาชน
    ๘. ที่เก็บน้ำฝน, งบพัฒนาตำบล
    ๙. ฝายกั้นน้ำ งบพัฒนาตำบล
    ๑๐. หอกระจายข่าว วิทยาลัยเทคนิคชุมพร
    ๑๑. บ่อเก็บน้ำฝน เอกชน

    จำนวนครูและนักเรียน
    เมื่อเริ่มก่อตั้ง มีนักเรียน ๔๒ คน ครูตำรวจตระเวนชายแดน ๒ นาย
    ปัจจุบันมีนักเรียน ๒๑๗ คน เป็นชาย ๑๑๕ คน หญิง ๑๐๒ คน มี ตชด. ๙ นาย ผู้ดูแลเด็ก ๒ คน

    ตารางแสดงจำนวนและคุณวุฒิ
    ยศ – ชื่อ - นามสกุล
    คุณวุฒิ
    หน้าที่รับผิดชอบ
    ๑. จ.ส.ต.อภิรักษ์ พรหมสถิตย์
    อศศ.
    ครูใหญ่
    ๒. ส.ต.อ.สมชาย เสือแก้ว
    อศศ.
    ผู้ช่วยครูใหญ่
    ๓. ส.ต.ท.ประเสริฐ พรหมบุญแก้ว
    คบ.
    ครูผู้สอน
    ๔. ส.ต.ต.เบญจพล วงค์เรื่อง
    ปวช.
    ครูผู้สอน
    ๕. พลฯ อาทร ลอยวิสุทธิ์
    ปวช.
    ครูผู้สอน
    ๖. พลฯ วิไชย แก้วศรี
    ปกศ.สูง
    ครูผู้สอน
    ๗. พลฯ วีนัส พิกุล
    วทบ.
    ครูผู้สอน
    ๘. ส.ต.ท.สุชินโน จิตวิเศษ
    ศศบ.
    ครูผู้สอน
    ๙. พลฯ อนุเทพ ประสบเนตร
    ม.๖
    ครูผู้สอน
    ๑๐. นางสมพิศ หีตสุวรรณ
    ม.๖
    ผู้ดูแลเด็กเล็ก
    ๑๑. นางสกุณา หนูโยง
    ปวช.
    ผู้ดูแลเด็กเล็ก

    ตารางแสดงจำนวนนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๓๙
    ชั้น
    ชาย
    หญิง
    รวม
    เด็กเล็กก่อนวัยเรียน
    ๓๓
    ๓๖
    ๖๙
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
    ๒๑
    ๒๙
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
    ๑๖
    ๑๗
    ๓๓
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
    ๑๐
    ๑๙
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
    ๑๔
    ๑๒
    ๒๖
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
    ๑๓
    ๑๒
    ๒๕
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
    ๑๖
    รวม
    ๑๑๕
    ๑๐๒
    ๒๑๗

    โครงการตามพระราชดำริที่โรงเรียนดำเนินการอยู่
    เพื่อเป็นการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำเนินงานโครงการตามพระราชดำริขึ้น ในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร (๒๕๓๕ - ๒๕๓๙) ดังต่อไปนี้

    โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    ครูผู้รับผิดชอบ คือ ส.ต.ต.เบญจพล วงศ์เรือง
    หน่วยงานที่รับผิดชอบ ได้แก่ เกษตรอำเภอละแม วิทยาลัยเกษตรกรรมชุมพร ปศุสัตว์จังหวัดชุมพร และประมงจังหวัดชุมพร
    แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร คือ ประปาภูเขา

    ผลผลิตทางการเกษตร ระหว่างเดือนพฤษภาคม ๒๕๓๘ ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๓๙
    เดือน หมวด
    เนื้อสัตว์ ถั่ว ผัก ผลไม้
    พฤษภาคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๐.๐๐ ๘,๐๐๐.๐๐ ๘๓,๐๐๐.๐๐ ๖๘,๐๐๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๐.๐๐
    ๓.๓๓
    ๓๔.๕๘
    ๒๘.๓๓
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๐.๐๐
    ๑๓.๓๓
    ๓๔.๕๘
    ๒๘.๓๓
      ประเมินผล ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    พอใช้
    พอใช้
    มิถุนายน
    ผลผลิตรวม (กรัม) ๑๗,๐๐๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๗๖,๒๐๐.๐๐
    ๔๔,๐๐๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๓.๘๖
    ๐.๐๐
    ๑๗.๓๒
    ๑๐.๐๐
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๙.๖๖
    ๐.๐๐
    ๑๗.๓๒
    ๑๐.๐๐
      ประเมินผล ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    กรกฎาคม
    ผลผลิตรวม (กรัม) ๑๐,๐๐๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๙๙,๖๐๐.๐๐
    ๔๕,๐๐๐.๐๐
     
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๒.๖๓
    ๐.๐๐
    ๒๖.๒๑
    ๑๑.๘๔
     
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๖.๕๘
    ๐.๐๐
    ๒๖.๒๑
    ๑๑.๘๔
     
    ประเมินผล ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    พอใช้
    ปรับปรุง
    สิงหาคม
    ผลผลิตรวม (กรัม) ๗๐,๐๐๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๘๑,๕๐๐.๐๐
    ๔๗,๐๐๐.๐๐
     
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๕.๒๒
    ๐.๐๐
    ๑๗.๗๑
    ๑๐.๒๒
     
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๓๘.๐๔
    ๐.๐๐
    ๑๗.๗๒
    ๑๐.๒๒
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    กันยายน ผลผลิตรวม (กรัม) ๖๑,๙๐๐.๐๐ ๐.๐๐ ๗๗,๕๐๐.๐๐ ๓๘,๐๐๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๔.๗๔ ๐.๐๐ ๑๘.๔๕ ๙.๐๕
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๓๖.๘๕ ๐.๐๐ ๑๘.๔๕ ๙.๐๕
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    ตุลาคม ผลผลิตรวม (กรัม) ๗๐,๐๐๐.๐๐ ๐.๐๐ ๘๐,๐๐๐.๐๐ ๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๕๐.๐๐ ๐.๐๐ ๕๗.๑๔ ๐.๐๐
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๑๒๕.๐๐ ๐.๐๐ ๕๗.๑๔ ๐.๐๐
      ประเมินผล ดีมาก ปรับปรุง ดี ปรับปรุง
    พฤศจิกายน ผลผลิตรวม (กรัม) ๖๒,๐๐๐.๐๐ ๐.๐๐ ๘๐,๐๐๐.๐๐ ๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๖.๓๒ ๐.๐๐ ๒๑.๐๕ ๐.๐๐
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๔๐.๗๙ ๐.๐๐ ๒๑.๐๕ ๐.๐๐
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    ธันวาคม ผลผลิตรวม (กรัม) ๖๖,๒๕๐ ๐.๐๐ ๘๕,๐๐๐.๐๐ ๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๖.๕๖ ๐.๐๐ ๒๑.๒๕ ๐.๐๐
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๔๑.๔๑ ๐.๐๐ ๒๑.๒๕ ๐.๐๐
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    มกราคม ผลผลิตรวม (กรัม) ๖๐,๐๐๐.๐๐ ๐.๐๐ ๗๕,๐๐๐.๐๐ ๑๕,๐๐๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๓.๐๔ ๐.๐๐ ๑๖.๓๐ ๓.๒๖
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๓๒.๖๑ ๐.๐๐ ๑๖.๓๐ ๓.๒๖
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    กุมภาพันธ์ ผลผลิตรวม (กรัม) ๖๒,๕๐๐.๐๐ ๐.๐๐ ๗๕,๐๐๐.๐๐ ๒๐,๐๐๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๔.๘๘ ๐.๐๐ ๑๗.๘๖ ๔.๗๖
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๓๗.๒๐ ๐.๐๐ ๑๗.๘๖ ๔.๗๖
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    มีนาคม ผลผลิตรวม (กรัม) ๕๒,๕๐๐.๐๐ ๐.๐๐ ๘๐,๐๐๐.๐๐ ๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๒.๕๐ ๐.๐๐ ๑๙.๐๕ ๐.๐๐
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๓๑.๒๕ ๐.๐๐ ๑๙.๐๕ ๐.๐๐
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง

    ปัจจุบันมีการประกอบเลี้ยง ๕ ครั้ง/สัปดาห์
    มีนักเรียนที่มีภาวะต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๑๖ คน
    ผู้ประกอบเลี้ยง คือ ครู และผู้ปกครองนักเรียน
    โรงเรียนได้รับการสนับสนุนค่าอาหารกลางวันจากกระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับในอัตรา ๕ บาท/คน/วัน ได้รับอาหารเสริมดังนี้
    ๑. นมสด UHT จาก กรมอนามัย จำนวน ๓,๖๔๘ กล่อง
    ๒. นมผง จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๒๙๐ กิโลกรัม (ปี ๒๕๓๘)
    ๓. แป้งถั่วเหลือง จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๓๑๐ กิโลกรัม (ปี ๒๕๓๘)

    การให้อาหารเสริม มีการดำเนินการ
    ๑) นมสด UHT ทุกวัน วันละ ๑ กล่อง
    ๒) นมผง ทุกวันอังคาร และวันพฤหัสบดี วันละ ๑ ครั้ง
    ๓) นมถั่วเหลือง ทุกวันจันทร์, วันพุธ และวันศุกร์ วันละ ๑ ครั้ง

    อัตราการมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ (ปีการศึกษา ๒๕๔๐ ครั้งที่ ๑)
    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    ระดับ ๑
    ระดับ ๒
    ระดับ ๓
    รวม
    % ต่ำ
    กว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    เด็กเล็ก
    ๔๕
    ๔๐
    ๓๘
    ๕.๐๐
    ดีมาก

    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    จำนวนต่ำ
    กว่าเกณฑ์
    % ต่ำกว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    ประถม ๑
    ๓๗
    ๓๗
    ๓๕
    ๕.๔๑
    ดีมาก
    ประถม ๒
    ๑๙
    ๑๙
    ๑๘
    ๕.๒๖
    ดีมาก
    ประถม ๓
    ๒๔
    ๒๔
    ๒๒
    ๘.๓๓
    ดีมาก
    ประถม ๔
    ๒๑
    ๒๑
    ๒๐
    ๔.๗๖
    ดีมาก
    ประถม ๕
    ๑๙
    ๑๙
    ๑๘
    ๕.๒๖
    ดีมาก
    ประถม ๖
    ๒๓
    ๒๓
    ๒๒
    ๔.๓๕
    ดีมาก
    รวม
    ๑๔๓
    ๑๔๓
    ๑๓๕
    ๕.๕๙
    ดีมาก

    รายการสิ่งของพระราชทาน
    ปีการศึกษา ๒๕๓๒
    ๑. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด
    ๒. ค่าเครื่องปรุง ๒ งวด จำนวน ๒,๗๐๐ บาท
    ๓. พันธุ์มะม่วง ๒๐ ต้น

    ปีการศึกษา ๒๕๓๓
    ๑. เมล็ดพันธุ์ผัก ๑ งวด จำนวน ๑ ชุด
    ๒. พันธุ์มะม่วง ๒๐ ต้น

    ปีการศึกษา ๒๕๓๔
    ๑. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด
    ๒. โครงการสร้างรางน้ำฝน ๒,๐๕๐ บาท

    ปีการศึกษา ๒๕๓๕
    ๑. แป้งถั่วเหลือง ๓ งวด จำนวน ๒๖๐ กิโลกรัม
    ๒. น้ำตาลทราย ๓ งวด จำนวน ๒๖๐ กิโลกรัม
    ๓. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด
    ๔. เครื่องชั่งน้ำหนัก ๑ เครื่อง

    ปีการศึกษา ๒๕๓๖
    ๑. แป้งถั่วเหลือง ๒ งวด จำนวน ๒๔๐ กิโลกรัม
    ๒. น้ำตาลทราย ๒ งวด จำนวน ๒๔๐ กิโลกรัม
    ๓. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด

    ปีการศึกษา ๒๕๓๗
    ๑. แป้งถั่วเหลือง ๓ งวด จำนวน ๓๙๐ กิโลกรัม
    ๒. น้ำตาลทราย ๓ งวด จำนวน ๓๙๐ กิโลกรัม
    ๓. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด

    ปีการศึกษา ๒๕๓๘
    ๑. แป้งถั่วเหลือง ๓ งวด จำนวน ๓๑๐ กิโลกรัม
    ๒. น้ำตาลทราย ๓ งวด จำนวน ๓๑๐ กิโลกรัม
    ๓. นมผง ๓ งวด จำนวน ๒๙๐ กิโลกรัม
    ๔. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด

    แหล่งอ้างอิง : สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี.
    สยามบรมราชกุมารี. (๑๓๔)
    (ใต้. ท๑ ส๖๕๒๕๗ ๒๕๓๙)