ประวัติโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านในหุบระบบการศึกษา
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันการให้อาหารเสริม มีการดำเนินการ

ประวัติโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านในหุบ

โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านในหุบ ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๔ บ้านในหุบ ตำบลเขาค่าย อำเภอสวี จังหวัดชุมพร
ปี พ.ศ.๒๕๓๒ ราษฎรในพื้นที่ได้ร่วมสร้างอาคารเรียน ๑ หลัง จำนวน ๔ ห้องเรียน และได้ดำเนินการขอครูตำรวจตระเวนชายแดน กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑ ทางกองกำกับฯ ได้จัดส่งครูมาดำเนินการสอน จำนวน ๓ นาย โดยเปิด ๒ ชั้นเรียน คือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๒ และคณะครูได้ร่วมกับราษฎรในพื้นที่ช่วยกันพัฒนา ต่อเติมด้านหน้าอาคารเรียน กั้นอาคารเรียน สร้างบ้านพักครู ๑ หลัง ในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ สร้างอาคารเอนกประสงค์ ๑ หลัง
ปี พ.ศ.๒๕๓๔ คณะครูและราษฎรได้ร่วมกันสร้างอาคารเรียน ขนาด ๙ x ๘ เมตร จำนวน ๔ ห้องเรียน ซึ่งการดำเนินการยังไม่แล้วเสร็จ ต่อมาเมื่อวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๓๕ ได้เกิดลมพายุพัดเอาอาคารเรียนพังล้มทั้งหลัง ทางโรงเรียนได้รายงานให้ทางกองกำกับการฯ ทราบตามลำดับ
ต่อมาคุณหญิงสุมิตรา บูรณะศิริ ได้บริจาคเงิน จำนวน ๑๕๐,๐๐๐ บาท ผ่านกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑ และได้สร้างอาคารเรียนหลังใหม่ โดยสมทบกับเงินของทางโรงเรียนจัดหาได้ สร้างอาคารเรียนแล้วเสร็จในปี พ.ศ.๒๕๓๖
ปี พ.ศ.๒๕๓๘ พีระยานุเคราะห์มูลนิธิ ได้บริจาคเงิน จำนวน ๖๖๐,๐๐๐ บาท ให้ทางกองกำกับการฯ เป็นผู้ดำเนินการ สร้างอาคารเรียน ขนาด ๗ x ๔๒ เมตร จำนวน ๖ ห้องเรียน สร้างแล้วเสร็จในปี ๒๕๓๙
ปัจจุบันโรงเรียนมีอาคาร ทั้งหมด ๓ หลัง อาคารห้องสมุดรวมกับห้องพยาบาล ๑ หลัง บ้านพักครู ๑ หลัง และทางกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑ ได้ดำเนินการขอเอกสารสิทธิ์ สปก. ๔ - ๓๑ ลงวันที่ ๑๕ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๓๘
โรงเรียนมีพื้นที่ทั้งหมด ๑๐ ไร่ ๕๑ ตารางวา

สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
ลักษณะพื้นที่เป็นหุบเขา ติดต่อเขตพื้นที่จังหวัดระยอง ประกอบด้วย ๒ หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ ๔ และหมู่ที่ ๙ ประชากรส่วนใหญ่ย้ายถิ่นฐานมาจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใช้ภาษาอีสานเป็นภาษาพูด นับถือศาสนาพุทธ

การคมนาคม
มีถนนสายหลักเข้า - ออกหมู่บ้าน เป็นถนนลาดยาง

จำนวนประชากร
หมู่ที่ ๔ มีประชากร ๒๗๔ ครอบครัว เป็นชาย ๕๔๐ คน หญิง ๖๐๒ คน รวม ๑,๑๔๒ คน
หมู่ที่ ๙ มีประชากร ๗๓ ครอบครัว เป็นชาย ๑๓๗ คน หญิง ๑๘๕ คน รวม ๓๒๒ คน

การประกอบอาชีพ
ประชากรส่วนใหญ่ทำไร่กาแฟ รายได้เฉลี่ยต่อปี จำนวน ๓๐,๐๐๐ บาท

ผู้นำหมู่บ้าน
นายมนูญ ขนอม กำนัน
นายประสงค์ ไทยเจริญ ผู้ใหญ่บ้าน

ข้อมูลทั่วไปหมู่บ้านใกล้เคียง
สภาพโดยทั่วไปของหมู่บ้านใกล้เคียง มีลักษณะเช่นเดียวกับบ้านในหุบ ประชากรประกอบอาชีพทำไร่กาแฟ และสวนผลไม้ โดยมีฐานะปานกลาง

ปัญหาของหมู่บ้าน
ขาดแคลนน้ำดื่ม น้ำใช้ในฤดูแล้ง ไม่มีไฟฟ้าใช้ เส้นทางบางช่วงยังไม่สะดวก

ระบบการศึกษา
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านในหุบ เป็นโรงเรียนที่ตั้งขึ้นในสังกัดกรมตำรวจ พื้นที่รับผิดชอบของกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑ จังหวัดชุมพร กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
โรงเรียนเปิดทำการสอนตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๒ โดยรับเด็กจากหมู่บ้านในหุบ ดำเนินการสอนเป็น ๒ ภาคเรียน ดังนี้
  • ภาคเรียนที่ ๑ เปิด ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๐
  • ภาคเรียนที่ ๒ เปิด ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๐

  • อาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก
    ทางโรงเรียนมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ดังนี้
    อาคารสถานที่
    ผู้ให้การสนับสนุน
    ๑. อาคารเรียน ๑ ราษฎรในพื้นที่ร่วมกับ กก.ตชด.ที่ ๔๑
    ๒. อาคารเรียน ๒ คุณหญิงสุมิตรา บูรณะศิริ บริจาคจำนวน ๑๕๐,๐๐๐ บาท
    ๓. อาคารเรียน ๓ พีระยานุเคราะห์ มูลนิธิจำนวน ๖๖๐,๐๐๐ บาท
    ๔. บ้านพักครู ๑ หลัง ราษฎร และ กก.ตชด.ที่ ๔๑
    ๕. ห้องสมุด และห้องพยาบาล กก.ตชด.ที่ ๔๑

    จำนวนครูและนักเรียน
    เมื่อเริ่มก่อตั้ง มีนักเรียน ๕๒ คน มีครูตำรวจตระเวนชายแดน ๓ นาย
    ปัจจุบันมีนักเรียน ๑๖๖ คน เป็นชาย ๘๘ คน หญิง ๗๘ คน มีครูตำรวจตระเวนชายแดน ๙ นาย ผู้ดูแลเด็ก ๒ คน

    ตารางแสดงจำนวนและคุณวุฒิ
    ยศ – ชื่อ - นามสกุล
    คุณวุฒิ
    หน้าที่รับผิดชอบ
    ๑. ร.ต.ต.ปรีชา พวงจันทร์
    คบ.
    ครูใหญ่
    ๒. จ.ส.ต.สมชัย คงตะโก
    ม.ศ.๓
    โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษา
    ๓. ส.ต.ท.บัญฤทธิ์ นวลสว่าง
    ม.๖
    โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
    โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก
    ๔. ส.ต.ท.สุชาติ อินทร์ช่วย
    ม.ศ.๕
    โครงการนักเรียนในพระราชานุเคราะห์
    ๕. ส.ต.ท.ลับ พรหมเมศร์
    ปกศ.สูง
    โครงการส่งเสริมสหกรณ์
    ๖. ส.ต.ท.ดำรงยศ อินทมะโน
    ม.๖
    โครงการห้องสมุด
    ๗. ส.ต.ต.ขจร ฉายศรี
    ม.๖
    โครงการฝึกอาชีพ
    ๘. ส.ต.ต.ประยูร พลเยี่ยม
    ม.๖
    โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    ๙. ส.ต.ต.ประจักษ์ ยอดสะอึ
    นบ.
    โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
    ๑๐. นางสงวน วงษาศิลปชัย
    ปวช.
    ผู้ดูแลเด็ก
    ๑๑. นางสาวดาเรศ ผลไธสง
    ม.๓
    ผู้ดูแลเด็ก

    ตารางแสดงจำนวนนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๔๐
    ชั้น
    ชาย
    หญิง
    รวม
    เด็กเล็กก่อนวัยเรียน
    ๑๖
    ๑๗
    ๓๓
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
    ๑๒
    ๑๗
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
    ๑๙
    ๑๖
    ๓๕
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
    ๑๒
    ๑๕
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
    ๑๒
    ๑๕
    ๒๗
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
    ๑๐
    ๑๔
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
    ๑๔
    ๑๓
    ๒๗
    รวม
    ๘๘
    ๗๘
    ๑๖๖

    โครงการตามพระราชดำริที่โรงเรียนดำเนินการอยู่
    เพื่อเป็นการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สมเด็จพระเทพรัตราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำเนินงานโครงการตามพระราชดำริขึ้น ในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร (๒๕๔๐ - ๒๕๔๔) ดังต่อไปนี้

    โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    ครูผู้รับผิดชอบ คือ จ.ส.ต.สมชัย คงตะโก
    ผู้ดำเนินงานโครงการฯ คือ ครู นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน

    หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน
    เกษตรตำบลเขาค่าย เคหกิจเกษตรอำเภอสวี
    แหล่งน้ำที่ใช้ในการเกษตรจากถังเก็บน้ำฝน, ประปาภูเขา
    แหล่งน้ำใช้สำหรับดื่ม น้ำฝน

    ผลผลิตทางการเกษตร ระหว่างเดือนพฤษภาคม ๒๕๓๙ ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๔๐
    เดือน หมวด
    เนื้อสัตว์ ถั่ว ผัก ผลไม้
    พฤษภาคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๒๕.๐๐ ๐.๐๐ ๑๓๐.๐๐ ๓๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๒.๓๘
    ๐.๐๐
    ๖๔.๓๖
    ๑๔.๘๕
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ (กรัม) ๓๐.๙๔
    ๐.๐๐
    ๖๔.๓๖
    ๑๔.๘๕
      ประเมินผล พอใช้
    ปรับปรุง
    ดี
    ปรับปรุง
    มิถุนายน
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๑๗๖.๐๐
    ๒๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๔๕.๘๖
    ๕.๒๑
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๔๕.๘๖
    ๕.๒๑
      ประเมินผล ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    กรกฎาคม
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๒๔.๐๐
    ๐.๐๐
    ๒๒๘.๐๐
    ๘๐.๐๐
     
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๕.๖๖
    ๐.๐๐
    ๖๗.๘๙
    ๑๘.๘๖
     
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๑๔.๑๔
    ๐.๐๐
    ๖๗.๘๙
    ๑๘.๘๖
     
    ประเมินผล ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    ดี
    ปรับปรุง
    สิงหาคม
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๙๒.๕๕
    ๐.๐๐
    ๙๒.๐๐
    ๙๗.๐๐
     
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๒๑.๘๒
    ๐.๐๐
    ๒๑.๖๙
    ๒๒.๘๗
     
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๕๔.๕๔
    ๐.๐๐
    ๒๑.๖๙
    ๒๒.๘๗
      ประเมินผล ดี ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    กันยายน ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๓๖.๐๐ ๐.๐๐ ๑๗๔.๐๐ ๕๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๘.๔๙ ๐.๐๐ ๔๑.๐๒ ๑๑.๗๙
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๒๑.๒๒ ๐.๐๐ ๔๑.๐๒ ๑๑.๗๙
      ประเมินผล ปรับปรุง ปรับปรุง พอใช้ ปรับปรุง
    ตุลาคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๖๕.๐๐ ๕๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๓๕.๗๕ ๒๗.๕๐
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๓๕.๗๕ ๒๗.๕๐
      ประเมินผล ปรับปรุง ปรับปรุง พอใช้ พอใช้
    พฤศจิกายน ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๔๑.๐๐ ๐.๐๐ ๓๔.๐๐ ๖๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๐.๑๕ ๐.๐๐ ๘.๔๒ ๑๔.๘๕
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๒๕.๓๗ ๐.๐๐ ๘.๔๒ ๑๔.๘๕
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    ธันวาคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๖๘.๐๐ ๐.๐๐ ๖๕.๐๐ ๖๕.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๘.๗๐ ๐.๐๐ ๑๗.๘๘ ๑๗.๘๘
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๔๖.๗๕ ๐.๐๐ ๑๗.๘๘ ๑๗.๘๘
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    มกราคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๖๘.๕๐ ๐.๐๐ ๘๐.๐๐ ๔๕.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๖.๑๕ ๐.๐๐ ๑๘.๘๖ ๑๐.๖๑
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๔๐.๓๗ ๐.๐๐ ๑๘.๘๖ ๑๐.๖๑
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    กุมภาพันธ์ ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๗๒.๐๐ ๐.๐๐ ๗๒.๐๐ ๔๕.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๘.๗๖ ๐.๐๐ ๑๘.๗๖ ๑๑.๗๒
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๔๖.๙๐ ๐.๐๐ ๑๘.๗๖ ๑๑.๗๒
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    มีนาคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๖๔.๕๐ ๐.๐๐ ๑๓๒.๐๐ ๕๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๕.๙๗ ๐.๐๐ ๓๒.๖๗ ๑๒.๓๘
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๓๙.๙๑ ๐.๐๐ ๓๒.๖๗ ๑๒.๓๘
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง พอใช้ ปรับปรุง

    หมายเหตุ คำอธิบายการแปลผล/เกณฑ์
    > ๗๕% = ดีมาก
    > ๕๐% - ๗๕% = ดี
    > ๒๕% - ๕๐% = พอใช้
    < ๒๕% = ปรับปรุง ปัจจุบันมีการประกอบเลี้ยง ๕ ครั้ง/สัปดาห์
    ผู้ประกอบเลี้ยง คือ ผู้ปกครองนักเรียน กลุ่มแม่บ้าน
    การเฝ้าระวัง มีนักเรียนที่มีภาวะต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๑ คน
    โรงเรียนได้รับการสนับสนุนค่าอาหารกลางวันจากกระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับในอัตรา ๕ บาท/คน/วัน รวมได้รับเงินค่าอาหารเดือนละ ๒๑,๓๐๐ บาท และได้รับอาหารเสริมปีการศึกษา ๒๕๓๙ - ๒๕๔๐ ดังนี้
    ๑. นมสด UHT จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๔,๗๖๔ กล่อง
    ๒. นมผง จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๑๒ กิโลกรัม
    ๓. แป้งถั่วเหลือง จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๓๗ กิโลกรัม

    การให้อาหารเสริม มีการดำเนินการ
    ๑. นมสด UHT ให้นักเรียนที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานดื่ม วันละ ๑ กล่อง
    ๒. นมผง ให้นักเรียนดื่มทุกวันอังคาร และพฤหัสบดี
    ๓. นมถั่วเหลือง ให้นักเรียนดื่มทุกวันจันทร์ พุธ และศุกร์

    อัตราการมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ (ปีการศึกษา ๒๕๔๐ ครั้งที่ ๑)
    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    ระดับ ๑
    ระดับ ๒
    ระดับ ๓
    รวม
    % ต่ำ
    กว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    เด็กเล็ก
    ๓๔
    ๓๑
    ๓๑
    -
    -
    -
    -
    -
    -

    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    จำนวนต่ำ
    กว่าเกณฑ์
    % ต่ำกว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    ประถม ๑
    ๑๘
    ๑๗
    ๑๖
    ๕.๘๘
    -
    ประถม ๒
    ๓๔
    ๓๔
    ๓๔
    -
    -
    -
    ประถม ๓
    ๑๕
    ๑๕
    ๑๕
    -
    -
    -
    ประถม ๔
    ๒๖
    ๒๖
    ๒๖
    -
    -
    -
    ประถม ๕
    ๑๔
    ๑๓
    ๑๓
    -
    -
    -
    ประถม ๖
    ๒๗
    ๒๕
    ๒๕
    -
    -
    -
    รวม
    ๑๓๔
    ๑๓๐
    ๑๒๙
    ๐.๗๗
    -

    แหล่งอ้างอิง : สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
    สยามบรมราชกุมารี.(๓๖)
    (ใต้ ท๑ ส๖๕๒๖๒ ๒๕๔๐)