ประวัติโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านพันวาลระบบการศึกษา
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันการให้อาหารเสริม มีการดำเนินการ

ประวัติโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านพันวาล

โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านพันวาล ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๒ บ้านพันวาล ตำบลรับร่อ อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๓๒โดยตั้งอยู่ทางทิศใต้ ต่อมาเกิดพายุใต้ฝุ่นเกย์ ทำให้อาคารเรียนหลังเดิมซึ่งเป็นอาคารชั่วคราว มุงจาก พังเสียหาย จึงได้ย้ายมาก่อสร้าง เป็นอาคารกึ่งถาวร โดยได้รับบริจาคที่ดินจากราษฎรในหมู่บ้าน ต่อมาได้จัดซื้อที่ดินเพิ่มเติมอีก จำนวน ๕ ไร่
โรงเรียนมีพื้นที่ทั้งหมด ๒๐ ไร่

สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๘ มีราษฎรหลายๆ กลุ่ม รวมกันอพยพไปอาศัยและประกอบอาชีพที่หมู่บ้านพันวาล โดยประกอบอาชีพทำสวนกาแฟ ต่อมาเมื่อวันที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๓๒ ได้เกิดพายุใต้ฝุ่นเกย์ ทำให้บ้านเรือนเสียหายเป็นจำนวนมาก หลังจากนั้นได้มีราษฎรอพยพเข้าไปอาศัยอีก

การคมนาคม
จากอำเภอท่าแซะ ถึงโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านพันวาล ระยะทาง ๔๑ กิโลเมตร เป็นเส้นทางลาดยาง จากอำเภอท่าแซะ ถึงสามแยกปากด่าน ๑๙ กิโลเมตร เป็นเส้นทางดินลูกรัง จากสามแยกปากด่านถึงโรงเรียน ๒๒ กิโลเมตร

จำนวนประชากร
มีประชากรทั้งหมด ๗๕๖ ครัวเรือน เป็นชาย ๑,๘๘๐ คน เป็นหญิง ๑,๔๙๕ คน รวม ๓,๓๗๕ คน

การประกอบอาชีพ
ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำสวนกาแฟ ทุเรียน เงาะ ค้าขาย และรับจ้าง

ผู้นำหมู่บ้าน
นายนรินทร์ชัย เนตรสุวรรณ ผู้ใหญ่/กำนัน

ข้อมูลหมู่บ้านใกล้เคียง
หมู่บ้านใกล้เคียงมีลักษณะคล้ายคลึงกับหมู่บ้านพันวาล

ปัญหาของหมู่บ้าน
- การคมนาคมระหว่างหมู่บ้านในช่วงฤดูฝนใช้การไม่ได้
- ไม่มีสาธารณูปโภคต่างๆ เช่น ไฟฟ้า สถานีอนามัย เครื่องมือสื่อสาร

ระบบการศึกษา
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนพันวาล เป็นโรงเรียนที่ตั้งขึ้นในสังกัดกรมตำรวจ พื้นที่รับผิดชอบของกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑ จังหวัดชุมพร กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
โรงเรียนเปิดทำการสอนตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๒ โดยรับเด็กจากหมู่บ้านพันวาล ดำเนินการสอนเป็น ๒ ภาคเรียน ดังนี้
  • ภาคเรียนที่ ๑ เปิด ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๐
  • ภาคเรียนที่ ๒ เปิด ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๐

  • อาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก
    ทางโรงเรียนมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ดังนี้
    อาคารสถานที่
    ผู้ให้การสนับสนุน
    ๑. อาคารเรียน ๑ สำนักพระราชวัง, บช.ตชด. และผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร
    ๒. อาคารเรียน ๒ นักศึกษาอาสา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    ๓. อาคารเด็กเล็ก สส.จังหวัดชุมพร
    ๔. อาคารโรงอาหาร ราษฎร
    ๕. อาคารฝึกงาน ราษฎร
    ๖. อาคารบ้านพักครู ราษฎร

    จำนวนครูและนักเรียน
    ปัจจุบันมีนักเรียน ๒๘๓ คน เป็นชาย ๑๕๔ คน หญิง ๑๒๙ คน มีครูตำรวจตระเวนชายแดน ๙ นาย ผู้ดูแลเด็ก ๑ คน

    ตารางแสดงจำนวนและคุณวุฒิ
    ยศ – ชื่อ - นามสกุล
    คุณวุฒิ
    หน้าที่รับผิดชอบ
    ๑. ร.ต.ต.อนันต์ คณโทมุข
    ม.๖
    ครูใหญ่
    ๒. ส.ต.อ.อนนท์ เงินละเอียด
    ม.ศ.๓
    ผู้ช่วยครูใหญ่/โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
    ๓. ส.ต.ท.วิชาญชัย คงโนนกอก
    ม.๖
    โครงการนักเรียนในพระราชานุเคราะห์
    ๔. ส.ต.ต.ภานุวัฒน์ ไชยประทุม
    ม.๖
    โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
    ๕. ส.ต.ต.เจษฎา เย็นวัฒนา
    ม.๖
    โครงการส่งเสริมสหกรณ์
    ๖. ส.ต.ต.ประดิษฐ์ บุดดานอก
    ม.๖
    โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    ๗. ส.ต.ต.อุดมศักดิ์ จันทวีวงศ์
    อนุปริญญา
    โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษา
    ๘. พลฯ บรรจบ สอนราช
    ม.๖
    โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    ๙. พลฯ พิจิตร ภูศักดิ์
    ม.๖
    โครงการฝึกอาชีพ
    ๑๐. นางสาวบุญเฮียง ศรีบุญจันทร์
    ม.๓
    ผู้ดูแลเด็ก

    ตารางแสดงจำนวนนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๔๐
    ชั้น
    ชาย
    หญิง
    รวม
    เด็กเล็กก่อนวัยเรียน
    ๔๑
    ๓๐
    ๗๑
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
    ๒๓
    ๑๗
    ๔๐
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
    ๒๙
    ๒๐
    ๔๙
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
    ๑๒
    ๑๔
    ๒๖
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
    ๑๓
    ๑๗
    ๓๐
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
    ๑๕
    ๑๗
    ๓๒
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
    ๒๑
    ๑๔
    ๓๕
    รวม
    ๑๕๔
    ๑๒๙
    ๒๘๓

    โครงการตามพระราชดำริที่โรงเรียนดำเนินการอยู่
    เพื่อเป็นการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สมเด็จพระเทพรัตราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำเนินงานโครงการตามพระราชดำริขึ้น ในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร (๒๕๔๐ - ๒๕๔๔) ดังต่อไปนี้

    โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    ครูผู้รับผิดชอบ คือ ส.ต.ต.ประดิษฐ์ บุดดานอก
    ผู้ดำเนินงานโครงการฯ คือ ครู นักเรียน และผู้ปกครองนักเรียน

    หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน
    เกษตรอำเภอ สำนักงานประมงจังหวัด วิทยาลัยเกษตรกรรมชุมพร
    แหล่งน้ำที่ใช้ในการเกษตรจาก บ่อเลี้ยงปลา
    แหล่งน้ำที่ใช้สำหรับดื่มจาก น้ำฝน

    ผลผลิตทางการเกษตร ระหว่างเดือนพฤษภาคม ๒๕๓๙ ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๔๐
    เดือน หมวด
    เนื้อสัตว์ ถั่ว ผัก ผลไม้
    พฤษภาคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๑๐.๐๐ ๐.๐๐ ๕๐.๐๐ ๖๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๓.๒๖
    ๐.๐๐
    ๑๖.๒๙
    ๑๙.๕๔
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๘.๑๔
    ๐.๐๐
    ๑๖.๒๙
    ๑๙.๕๔
      ประเมินผล ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    มิถุนายน
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๒๓.๘๐
    ๐.๐๐
    ๗๕.๐๐
    ๑๒๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๔.๐๘
    ๐.๐๐
    ๑๒.๘๖
    ๒๐.๕๗
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๑๐.๒๐
    ๐.๐๐
    ๑๒.๘๖
    ๒๐.๕๗
      ประเมินผล ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    กรกฎาคม
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๓๙.๖๕
    ๒๐.๐๐
    ๑๒๐.๐๐
    ๑๑๕.๐๐
     
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๖.๑๕
    ๓.๑๐
    ๑๘.๖๑
    ๑๗.๘๔
     
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๑๕.๓๘
    ๑๒.๔๑
    ๑๘.๖๑
    ๑๗.๘๔
     
    ประเมินผล ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    ปรับปรุง
    สิงหาคม
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๙๑.๓๕
    ๐.๐๐
    ๘๕.๐๐
    ๗๗.๐๐
     
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๔.๑๗
    ๐.๐๐
    ๑๓.๑๘
    ๑๑.๙๔
     
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๓๕.๔๒
    ๐.๐๐
    ๑๓.๑๘
    ๑๑.๙๔
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    กันยายน ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๘๔.๕๕ ๐.๐๐ ๗๕.๐๐ ๖๔.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๓.๑๐ ๐.๐๐ ๑๑.๖๓ ๙.๙๓
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๓๒.๗๙ ๐.๐๐ ๑๑.๖๓ ๙.๙๓
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรัปปรุง ปรับปรุง
    ตุลาคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๙๒.๘๕ ๐.๐๐ ๔๕.๐๐ ๕๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๓๗.๘๑ ๐.๐๐ ๑๘.๓๒ ๒๐.๓๖
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๙๔.๕๑ ๐.๐๐ ๑๘.๓๒ ๒๐.๓๖
      ประเมินผล ดีมาก ปรับปรุง พอใช้ ปรับปรุง
    พฤศจิกายน ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๖๒.๕๐ ๐.๐๐ ๗๐.๐๐ ๔๕.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๐.๗๑ ๐.๐๐ ๑๒.๐๐ ๗.๗๑
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๒๖.๗๙ ๐.๐๐ ๑๒.๐๐ ๗.๗๑
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    ธันวาคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๙๔.๐๐ ๐.๐๐ ๘๕.๐๐ ๗๕.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๔๒.๕๓ ๐.๐๐ ๑๕.๓๘ ๑๓.๕๗
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    มกราคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๙๓.๐๐ ๐.๐๐ ๖๕.๐๐ ๑๗.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๕.๙๔ ๐.๐๐ ๑๑.๑๔ ๒.๙๑
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๓๙.๘๖ ๐.๐๐ ๑๑.๑๔ ๒.๙๑
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    กุมภาพันธ์ ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๔๙.๗๐ ๐.๐๐ ๒๖.๗๐ ๔๑.๔๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๘.๕๒ ๐.๐๐ ๔.๕๘ ๗.๑๐
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๒๑.๓๐ ๐.๐๐ ๔.๕๘ ๗.๑๐
      ประเมินผล ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    มีนาคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๕๓.๖๐ ๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๔๑.๑๑
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๘.๓๑ ๐.๐๐ ๓.๑๐ ๖.๓๖
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๒๐.๗๘ ๐.๐๐ ๓.๑๐ ๖.๓๖
      ประเมินผล ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง

    หมายเหตุ คำอธิบายการแปลผล/เกณฑ์
    > ๗๕% = ดีมาก
    > ๕๐% - ๗๕% = ดี
    > ๒๕% - ๕๐% = พอใช้
    < ๒๕% = ปรับปรุง
    ปัจจุบันมีการประกอบเลี้ยง ๕ ครั้ง/สัปดาห์
    ผู้ประกอบเลี้ยง คือ ผู้ปกครองนักเรียน กลุ่มแม่บ้าน
    การเฝ้าระวัง มีนักเรียนที่มีภาวะต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๔๗ คน
    โรงเรียนได้รับการสนับสนุนค่าอาหารกลางวันจากกระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับในอัตรา ๕ บาท/คน/วัน รวมได้รับเงินค่าอาหารเดือนละ ๒๗,๗๐๐ บาท และได้รับอาหารเสริมปีการศึกษา ๒๕๓๙ - ๒๕๔๐ ดังนี้
    ๑. นมสด UHT จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๖,๔๕๘ กล่อง
    ๒. นมผง จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๒๐ กระสอบ
    ๓. แป้งถั่วเหลือง จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๕๙ กระสอบ

    การให้อาหารเสริม มีการดำเนินการ
    ๑. นมสด UHT ให้นักเรียนที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานดื่ม วันละ ๑ กล่อง
    ๒. นมผง ให้นักเรียนดื่มทุกวันอังคาร และวันพฤหัสบดี
    ๓. นมถั่วเหลือง ให้นักเรียนดื่มทุกวันจันทร์ พุธ และศุกร์

    อัตราการมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ (ปีการศึกษา ๒๕๔๐ ครั้งที่ ๑)
    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    ระดับ ๑
    ระดับ ๒
    ระดับ ๓
    รวม
    % ต่ำ
    กว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    เด็กเล็ก
    ๗๑
    ๕๗
    ๑๕
    -
    -
    ๑๕
    ๒๖.๓๒
    -

    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    จำนวนต่ำ
    กว่าเกณฑ์
    % ต่ำกว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    ประถม ๑
    ๔๐
    ๓๑
    ๒๗
    ๑๒.๙๐
    -
    ประถม ๒
    ๔๙
    ๔๑
    ๒๙
    ๑๒
    ๒๙.๒๗
    -
    ประถม ๓
    ๒๖
    ๒๑
    ๒๐
    ๔.๗๖
    -
    ประถม ๔
    ๓๐
    ๒๘
    ๒๓
    ๑๗.๘๖
    -
    ประถม ๕
    ๓๒
    ๒๙
    ๒๒
    ๒๔.๑๔
    -
    ประถม ๖
    ๓๕
    ๓๓
    ๓๐
    ๙.๐๙
    -
    รวม
    ๒๑๒
    ๑๘๓
    ๑๕๑
    ๓๒
    ๑๗.๔๙
    -

    รายการสิ่งของพระราชทาน
    ปีการศึกษา ๒๕๓๙
    ๑. แป้งถั่วเหลือง ๓ งวด จำนวน ๒๓๐ กิโลกรัม
    ๒. น้ำตาลทราย ๓ งวด จำนวน ๒๓๐ กิโลกรัม
    ๓. นมผง ๒ งวด จำนวน ๒๐๐ กิโลกรัม
    ๔. นมถั่วเหลืองแลคตาซอย ๑ งวด จำนวน ๒๓๒ หีบ
    ๕. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด

    ปีการศึกษา ๒๕๔๐
    ๑. แป้งถั่วเหลือง ๑ งวด จำนวน ๖๕ กิโลกรัม
    ๒. น้ำตาลทราย ๑ งวด จำนวน ๖๕ กิโลกรัม
    ๓. นมผง ๑ งวด จำนวน ๑๕๐ กิโลกรัม
    ๔. เมล็ดพันธุ์ผัก ๑ งวด จำนวน ๑ ชุด

    แหล่งอ้างอิง : สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
    สยามบรมราชกุมารี.(๓๖)
    (ใต้ ท๑ ส๖๕๒๖๒ ๒๕๔๐)