kanbinthai
kaosarapee
klongjareansuk
thakenchai
bankoknoi
bantakfah
banthapakchee
bannumaom
bannumaom
banwangsritong

pracharath
bannumaom

ประวัติโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนพีระยานุเคราะห์ฯ ๑ บ้านคลองชลสภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันหน่วยงานที่ให้การสนับสนุน

ประวัติโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนพีระยานุเคราะห์ฯ ๑ บ้านคลองชล
เดิมชื่อโรงเรียนบ้านคลอง ชล ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๕ โดย ราษฎรกลุ่มบ้านคลองชลร่วม กันก่อสร้าง เพื่อแก้ไข สภาพการศึกษา เนื่องจากสถาน ศึกษาอยู่ห่างไกลและเกิน ความสามารถของเด็กวัย ประถมศึกษาจะไปเรียน ได้ ดังนั้นพระภิกษุสุวรรณ์ กิตติปัญโญ เจ้า อาวาสสำนักสงฆ์กลุ่มบ้าน คลองชล ร่วมสละทรัพย์ ก่อสร้าง และจัดหาประชา ชน ทหารพราน กรมทหารพราน ที่๑๓ ค่ายเขาไผ่ มาช่วยทำ การสอนชั่วคราว
ต่อมา ปี พ.ศ.๒๕๒๘ ได้มอบโรงเรียนให้ กองกำกับการตำรวจตระเวน ชายแดนที่ ๑๒ ทางกองกำกับฯ จึง ได้ดำเนินการจัดส่งครู ตำรวจตระเวนชายแดนเข้าไป ดำเนินการสอน โดยเปิดสอน ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ - ๖ และได้รับมอบที่ดิน จำนวน ๕๐ ไร่ จากนายบรรจง คมขำ และ บริษัทสวนป่ากิตติ
วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๓๘ ได้ รับอนุมัติจัดตั้งเป็นโรง เรียนตำรวจตระเวนชายแดน%

สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน

จัดตั้งบ้านเรือนเป็นกลุ่ม ตามพื้นที่ประกอบอาชีพของ แต่ละครัวเรือน สภาพพื้นที่ เป็นพื้นที่ราบเชิงเขา มี คลองธรรมชาติไหลผ่านใน ช่วงฤดูฝน มีพื้นที่ติดต่อดังนี้

ทิศเหนือ ติดต่อ บ้านคลองยาย อินทร์ ตำบลวังทอง กิ่งอำเภอวังสมบูรณ์
ทิศใต้ ติดต่อ บ้านวังไผ่ ตำบลวัง ทอง กิ่งอำเภอวังสมบูรณ์
ทิศตะวันออก ติดต่อ บ้านคลองเจริญ สุข ตำบลวังทอง กิ่งอำเภอวังสมบูรณ์
ทิศตะวันตก ติดต่อ บ้านคลองอุดม กิ่ง อำเภอวังสมบูรณ์

การคมนาคม

ใช้ได้ในช่วงฤดูแล้ง เนื่อง จากเส้นทางเป็นทางดิน และลูกรัง มีน้ำขังเป็น บางส่วน การขนส่งไม่สะดวก มี รถยนต์โดยสารขนาด เล็กวิ่งวันละ ๑ - ๒ เที่ยว อัตราค่า โดยสารจากหมู่บ้านถึง ตลาด กิ่งอำเภอวังสมบูรณ์๓๐ บาท/คน ระยะ ทางจากหมู่บ้านถึงกิ่ง อำเภอวังสมบูรณ์ ๒๗ กิโลเมตร ห่างจาก จังหวัดสระแก้ว ๗๕.๕ กิโลเมตร และห่าง จากกองกำกับการตำรวจ ตระเวนชายแดน ๑๒๕.๕ กิโลเมตร

จำนวนประชากร

มีประชากรทั้งสิ้น ๒๙๑ คน เป็น ชาย ๑๕๔ คน หญิง ๑๓๗ คน แยกเป็นครัว เรือน ๙๑ ครัวเรือน ซึ่งแบ่งเป็น ๓ กลุ่ม บ้านคือ กลุ่มบ้านคลองชล กลุ่มบ้าน เขาดิน และกลุ่มบ้านเขาไผ่

การประกอบอาชีพ/รายได้เฉลี่ย

ประชากรส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพการเกษตร ทำไร่มัน สำปะหลังข้าวโพด ถั่วลิสง ถั่วเหลือง รายได้ เฉลี่ย ๑๒,๐๐๐ บาท/ครอบครัว/ปี

ผู้นำหมู่บ้าน
กำนัน นายสำรวจ จันทร์มงคล
ผู้ใหญ่บ้าน นายสังวาลย์ กองตาพันธ์

ข้อมูลทั่วไปหมู่บ้านใกล้เคียง

- หมู่บ้านคลองยายอินทร์ มีสภาพพื้นที่เป็นที่ ราบเชิงเขา ประชากรประกอบ อาชีพเช่นเดียวกับกลุ่มบ้าน คลองชล ห่างจากกลุ่มบ้าน คลองชล ระยะทาง ๑๓ กิโลเมตร มี สถานศึกษา ๑ แห่ง คือ โรงเรียนบ้าน คลองยายอินทร์ เปิดสอนชั้น เด็กเล็กก่อนวัยเรียน ถึงชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น การ คมนาคมไม่สะดวกในช่วง ฤดูฝน
- หมู่บ้านวังไผ่ มี สภาพพื้นที่ประกอบอาชีพเช่น เดียวกับกลุ่มบ้านคลอง ชล ระยะทาง ๘ กิโลเมตร มีสถานศึกษา ๑ แห่ง คือ โรง เรียนบ้านวังไผ่ เปิดสอน ชั้นเด็กเล็กก่อนวัยเรียน ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่๖ การ คมนาคม ไม่สะดวกในช่วงฤดูฝน
- บ้านคลองเจริญสุข มีสภาพพื้น ที่ การประกอบอาชีพเช่นเดียวกับ กลุ่มบ้านคลองชล ระยะทาง ๑๐ กิโลเมตร มี สถานศึกษา ๑ แห่ง คือ โรงเรียนตำรวจตระเวน ชายแดนบ้านคลองเจริญสุข เปิด สอนชั้นเด็กเล็กก่อนวัยเรียน

ปัญหาของหมู่บ้านที่ต้องการพัฒนา

ราคาพืชไร่ตกต่ำ ทำให้ รายได้ไม่สมดุลย์กับราย จ่าย การพัฒนาหมู่บ้านจึงไม่ เป็นไปตามระบบ และราษฎรบาง ส่วนอพยพไปประกอบอาชีพนอกพื้นที่
การคมนาคมไม่สะดวก เนื่องจากสภาพ ถนนไม่ดี ใช้ได้ดีใน ช่วงฤดูแล้งเท่านั้น
สถานศึกษา ของรัฐที่เปิดสอนถึง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นอยู่ห่างไกล
สถานีอนามัยอยู่ห่างไกลจากหมู่ บ้าน ระยะทาง ๑๓กิโลเมตร คือ สถานีอนามัยบ้านคลอง ยายอินทร์ และการคมนาคมไม่สะดวก

ระบบการศึกษา

โรงเรียนตำรวจตระเวนชาย แดน พีระยานุเคราะห์ฯ ๑ พื้น ที่รับผิดชอบของกอง กำกับการตำรวจตระเวน ชายแดนที่ ๑๒ จังหวัดสระแก้ว กอง บัญชาการตำรวจตระเวน ชายแดน กรมตำรวจ
โรงเรียนเปิดทำการ สอนตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๘ โดย รับเด็กจากหมู่บ้าน คลองชล ดำเนินการสอน เป็น ๒ ภาคเรียน ดังนี้

ภาคเรียนที่ ๑ เปิด ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๐ ถึง ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๐
ภาคเรียนที่ ๒ เปิด ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๐ ถึง ๓๐ มีนาคม๒๕๔๑

 

อาคารสถานที่
ผู้ให้การสนับสนุน
๑) อาคารเรียนหลังเก่าประชาชนในพื้นที่
๒) อาคารเรียนหลังใหม่พีระยานุเคราะห์มูลนิธิ
๓) อาคารโรงครัวพีระยานุเคราะห์มูลนิธิ
๔) อาคารเอนกประสงค์พีระยานุเคราะห์มูลนิธิ
๕) เรือนพยาบาล/สหกรณ์พีระยานุเคราะห์มูลนิธิ
๖) บ้านพักครูพีระยานุเคราะห์มูลนิธิ
๗) ห้องน้ำห้องส้วมพีระยานุเคราะห์มูลนิธิ
๘) แผงโซลาเซล/บ่อบาดาลกรมโยธาธิการ
๙) โรงเรือนเลี้ยงไก่โรงเรียนปานะพันธ์วิทยา
๑๐) บ่อเลี้ยงปลากรมประมง

จำนวนครูและนักเรียน

เมื่อเริ่มก่อตั้ง มีนัก เรียน ๔๘ คน มีครูตำรวจตระเวน ชายแดน๔ นาย
ปัจจุบัน (ปีการศึกษา ๒๕๔๐) มี นักเรียน ๙๒ คน เป็นชาย๔๙ คน หญิง ๔๓ คน มี ครูตำรวจตระเวนชายแดน ๘ นาย ผู้ ดูแลเด็ก๒ คน

ตารางแสดงจำนวนครูและคุณวุฒิ

ยศ - ชื่อ - นามสกุล
คุณวุฒิ
รับผิดชอบโครงการฯ
๑) จ.ส.ต.คำเลิศ แก้วรักษา
ม.๖
บริหารทุกโครงการ
๒) จ.ส.ต.สนั่น วงเวียน
ม.๖
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
๓) ส.ต.ท.กิจจา บุญจันทร์
ปวท.
โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษา
๔) ส.ต.ต.สายันต์ พรมมา
ปวช.
โครงการนักเรียนในพระราชานุเคราะห์ และโครงการฝึกอาชีพ
๕) ส.ต.ต.บุญเรือง สาวิสิทธิ์
ม.๖
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก
๖) ส.ต.ต.สมภพ จิตเทวินลิขิต
ม.๖
โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
๗) พลฯ สุขชัย วันหนองสา
ม.๖
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๘) พลฯ เศกฤทธิ์ สมพมิตร
ม.๖
โครงการส่งเสริมสหกรณ์
๙) นางสาวทองร้อย แสงขาน
ม.๖
ผู้ดูแลเด็กเล็ก
๑๐) นางสาวภานุมาศ จิ้นชัย
ม.๓
ผู้ดูแลเด็กเล็ก

ตารางแสดงจำนวนนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๔๐

ชั้น
ชาย
หญิง
รวม
เด็กเล็กก่อนวัยเรียน
๒๒
๑๓
๓๕
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
๑๓
๑๕
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
๑๒
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
๑๐
รวม
๔๘
๔๔
๙๒

โครงการตามพระราชดำริที่โรงเรียนดำเนินการ

เพื่อเป็นการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำเนินงานโครงการตามพระราชดำริขึ้น ตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร (๒๕๔๐ - ๒๕๔๔) ดังต่อไปนี้

โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน

ครูผู้รับผิดชอบ คือ จ.ส.ต.สนั่น วงเวียน ผู้ดำเนินงานโครงการฯ คือ ครู และ นักเรียน แหล่งน้ำใช้ในการเกษตร คือ สระน้ำ ปัจจุบันมีการประกอบเลี้ยง ๕ ครั้ง/สัปดาห์
ผู้ประกอบเลี้ยง คือ ครู นักเรียน และกลุ่มแม่บ้าน การเฝ้าระวัง มีนักเรียนที่มี ภาวะต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๗ คน โรงเรียนได้รับการสนับสนุน ค่าอาหารกลางวันจากกระทรวง ศึกษาธิการ โดยได้รับในอัตรา ๕ บาท/คน/วัน และ ได้รับอาหารเสริมปีการ ศึกษา ๒๕๔๐ ดังนี้
  • นมผง จาก สำนักพระ ราชวัง จำนวน ๑๕๐ กิโลกรัม
  • แป้งถั่วเหลือง จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๒๐ กิโลกรัม
  • นมสด UHT จาก กรมอนามัย จำนวน ๘๖๔ กล่อง
  • นมอัดเม็ด จาก โรงพยาบาลนวุติสมเด็จ ย่า จำนวน ๒,๐๐๐ ซอง
    การให้อาหารเสริม มีการดำเนินการ ดังนี้
  • นมสด UHT ให้นักเรียนที่น้ำหนักต่ำกว่ามาตรฐานดื่ม วันละ ๑ กล่อง
  • นมผง ให้นักเรียนทั้งหมดดื่มทุกวัน
  • นมถั่วเหลือง ให้นักเรียนทั้งหมดดื่มทุกวัน
  • นมอัดเม็ด ให้นักเรียนทั้งหมดรับประทานวันละ ๑ ซอง
  • ผลผลิตทางการเกษตร ระหว่างเดือนพฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๔๐

    เดือนหมวด
    เนื้อสัตว์ ถั่วผักผลไม้
    พฤษภาคม ผลผลิตรวม (กรัม)๐.๐๐๓๐.๐๐ ๕๐.๐๐๔๕.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)๐.๐๐๕๒.๖๓ ๘๗.๗๒๗๘.๙๕
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ (กรัม)๐.๐๐๒๑๐.๕๓ ๘๗.๗๒๗๘.๙๕
      ประเมินผลปรับปรุงดีมาก ดีมากดีมาก
    มิถุนายน ผลผลิตรวม (กิโลกรัม)๐.๐๐๖๓.๐๐ ๙๕.๐๐๖๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)๐.๐๐๕๒.๖๓ ๗๙.๓๗๕๐.๑๓
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ (กรัม)๐.๐๐๒๑๐.๕๓ ๗๙.๓๗๕๐.๑๓
      ประเมินผลปรับปรุงดีมาก ดีมากดี
    กรกฎาคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม)๐.๐๐๔๒.๔๐ ๗๘.๐๐๘๕.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)๐.๐๐๓๕.๕๑ ๖๕.๑๖๗๑.๐๑
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ (กรัม)๐.๐๐๑๔๒.๐๒ ๖๕.๑๖๗๑.๐๑
      ประเมินผลปรับปรุงดีมาก ดีดี
    สิงหาคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม)๐.๐๐๓๙.๐๐ ๘๒.๐๐๔๕.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)๐.๐๐๓๔.๒๑ ๗๑.๙๓๓๙.๔๗
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ (กรัม)๐.๐๐๑๓๖.๘๔ ๗๑.๙๓๓๙.๔๗
      ประเมินผลปรับปรุงดีมาก ดีพอใช้

    อัตราการมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ (ปีการศึกษา ๒๕๔๐ ครั้งที่ ๑)

    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    ระดับ ๑
    ระดับ ๒
    ระดับ ๓
    รวม
    % ต่ำกว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    เด็กเล็ก
    ๓๕
    ๓๒
    ๒๘
    -
    -
    ๑๒.๕๐
    ดี

     

    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    จำนวนต่ำกว่าเกณฑ์
    % ต่ำกว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    ประถม ๑
    ๑๕
    ๑๔
    ๑๑
    ๒๑.๔๓
    พอใช้
    ประถม ๒
    ๑๐
    ๑๐
    ๑๐
    ๐.๐๐
    ดีมาก
    ประถม ๓
    ๑๑.๑๑
    ดี
    ประถม ๔
    ๑๔.๒๙
    ดี
    ประถม ๕
    ๑๖.๖๗
    ดี
    ประถม ๖
    ๑๐
    ๑๐
    ๑๐.๐๐
    ดี
    รวม
    ๕๗
    ๕๖
    ๔๙
    ๑๒.๕๐
    ดี

    หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน

    วิทยาลัยเกษตรกรรมสระแก้ว และสำนักงานเกษตรจังหวัดสระแก้ว

    แหล่งอ้างอิง : สำนักงานโครงการส่วนพระองค์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี.(๒๗)
    (สก. ท๑ ส๖๕๒ ๒๕๔๐)