ประวัติโรงเรียนบ้านสะปันสภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันรายการสิ่งของพระราชทาน

ประวัติโรงเรียนบ้านสะปัน

หมู่ที่ ๑ บ้านสะปัน ตำบลดงพญา อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน
จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๒๒ โดยคณะกรรมการหมู่บ้านและชาวบ้านสะปัน ร่วมกันจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการก่อสร้างอาคารชั่วคราว ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๒๓ ได้งบประมาณก่อสร้างอาคารไม้ ๑ หลัง ๒ ห้องเรียน และ บ้านพักครู ๑ หลัง ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ เกิดน้ำท่วม จึงย้ายบ้านพักครูมาอยู่บริเวณโรงเรียน ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียน แบบ สปช.๑๐๑/๑ จำนวน ๑ หลัง และส้วม ๒ ที่นั่ง แบบ สปช.๖๐๑/๒๖ โรงเรียนมีพื้นที่ทั้งหมด ๑ ไร่ ๓ งาน ๖๘ ตารางวา

สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
โดยทั่วไปเป็นพื้นที่ภูเขา มีลำน้ำไหลผ่าน เป็นหมู่บ้านที่ตั้งของตำบลและมีหมู่บ้านบริวาร ๕ หมู่บ้าน ประชาชนเป็นชาวพื้นเมืองและชาวเผ่าถิ่น ประกอบอาชีพทำไร่และหาของป่า

การคมนาคม
ระยะทางจาก สปอ.บ่อเกลือ ถึงโรงเรียน ๘ กิโลเมตร สภาพถนนเป็นลูกรัง ๒ กิโลเมตร

จำนวนประชากร
บ้านสะปันมีประชากรทั้งสิ้น ๒๕๖ คน แยกเป็น ๖๕ ครัวเรือน

การประกอบอาชีพ/รายได้เฉลี่ย
ประชากรประกอบอาชีพรับจ้างทำหัตกรรมงานหวาย ทำไร่ข้าว รับจ้าง มีรายได้เฉลี่ยครอบครัวละ ๘,๐๐๐ บาท/ปี

ผู้นำหมู่บ้าน
กำนัน  นายภานุวัฒน์  วิวัฒน์ดงพญา

ข้อมูลทั่วไปหมู่บ้านใกล้เคียง
บ้านเด่น ระยะทางห่างจากบ้านสะปัน ๑.๕ กิโลเมตร สภาพถนนเป็นทางเดินเท้าขึ้นเขา มีประชากร ๒๘๕ คน แยกเป็น ๗๐ ครอบครัว ๔๔ หลังคาเรือน บ้านป่าก่อ ระยะทางห่างจากบ้านสะปัน ๔ กิโลเมตร สภาพถนนเป็นทางเดินเท้าขึ้นเขา มีประชากร ๔๔ คน แยกเป็น ๑๐ ครอบครัว ๙ หลังคาเรือน บ้านนาโปร่ง ระยะทางจากบ้านสะปัน ๒ กิโลเมตร สภาพถนนเป็นทางเดินเท้า มีประชากร ๑๗๒ คน แยกเป็น ๔๐ ครอบครัว ๒๘ หลังคาเรือน บ้านห้วยโทน ระยะทางห่างจากบ้านสะปัน ๘ กิโลเมตร สภาพถนนเป็นทางเดินเท้าขึ้นเขา มีประชากร ๓๕๐ คน แยกเป็น ๗๐ ครอบครัว ๕๐ หลังคาเรือน บ้านห้วยข่า ระยะทางห่างจากบ้านสะปัน ๑ กิโลเมตร สภาพถนนเป็นทางเดินเท้า ทุกหมู่บ้านมีสภาพยากจน ระยะทางไปมาลำบาก ชาวบ้านมีอาชีพทำไร่ และรับจ้างหาหวาย

ปัญหาของหมู่บ้านที่ต้องการพัฒนา
๑. หมู่บ้านมีสภาพคับแคบ เพราะพื้นที่เป็นภูเขา มีที่ราบลุ่มน้อยมาก ทำให้ขยายพื้นที่ไม่ได้
๒. หมู่บ้านอยู่ติดแม่น้ำ เวลาหน้าฝนน้ำท่วม
๓. มีบ้านบริวารหลายหมู่บ้าน การติดต่อสื่อสารบางครั้งล่าช้า
๔. ฐานะของประชาชนยากจน มีการอพยพย้ายถิ่นไปทำงานรับจ้างในเมือง ทำให้อยู่ไม่เป็นหลักแหล่ง

ระบบการศึกษา
โรงเรียนบ้านสะปัน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
โรงเรียนเปิดทำการสอนตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ ดำเนินการสอนเป็น ๒ ภาคเรียน ดังนี้
  • ภาคเรียนที่ ๑ เปิด ๖ พฤษภาคม ๒๕๔๑ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๔๑
  • ภาคเรียนที่ ๒ เปิด ๒๐ ตุลาคม ๒๕๔๑ ถึง ๒๒ มีนาคม ๒๕๔๒

  • อาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก
    ทางโรงเรียนมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ดังนี้

    อาคารสถานที่
    ผู้ให้การสนับสนุน
    ๑.สปช.๑๐๑/๑ งบประมาณสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
    ๒. สปช.๖๐๑/๒๖ งบประมาณสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
    ๓. อาคารเรียนชั่วคราว ๓ ห้อง ประชาชนในพื้นที่

    จำนวนครูและนักเรียน
    เมื่อเริ่มก่อตั้ง มีนักเรียน ๓๗ คน มีครู ๒ คน
    ปัจจุบัน (ปีการศึกษา ๒๕๔๑) มีนักเรียน ๒๕๒ คน เป็นชาย ๑๒๕ คน หญิง ๑๒๗ คน มีครู ๗ คน ผู้ดูแลเด็ก ๑ คน

    ตารางแสดงจำนวนครูและคุณวุฒิ
    ชื่อ - นามสกุล
    คุณวุฒิ
    รับผิดชอบโครงการฯ
    ๑. นายประเทือง สุนทร ค.บ. ผู้บริหารโรงเรียน รับผิดชอบทุกโครงการฯ
    ๒.  นายเสน่ห์ นันธิสิงห์ ค.บ. โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
    ๓.&nbspนางวราภรณ์ นันธิสิงห์ ค.บ. โครงการอาหารกลางวัน
    ๔.  นายสมควร กะรัตน์ ค.บ. กิจการนักเรียน
    ๕. นางศศิมล ชาวยอง ค.บ. โครงการห้องสมุด
    ๖.  นางวรารินทร์ ขันติยะ ค.บ. โครงการควบคมโรคขาดสารไอโอดีน
    ๗. นายภาพรินทร์ ชัยเรือง คบ. กิจการนักเรียน
    ๘.  นางสาวมะลิวัลย์ อินสุด ม.๓ ผู้ดูแลเด็ก

    ตารางแสดงจำนวนนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๔๑
    ชั้น
    ชาย
    หญิง
    รวม
    เด็กเล็กก่อนวัยเรียน
    ๑๗
    ๒๑
    ๓๘
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
    ๒๐
    ๑๓
    ๓๓
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
    ๓๐
    ๑๕
    ๔๕
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
    ๓๑
    ๓๔
    ๖๕
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
    ๑๒
    ๒๐
    ๓๒
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
    ๑๕
    ๒๑
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
    ๑๘
    รวม
    ๑๒๕
    ๑๒๗
    ๒๕๒

    โครงการตามพระราชดำริที่โรงเรียนดำเนินการอยู่
    บ้านเด่น ระยะทางห่างจากบ้านสะปัน ๑.๕ กิโลเมตร สภาพถนนเป็นทางเดินเท้าขึ้นเขา มีประชากร ๒๘๕ คน แยกเป็น ๗๐ ครอบครัว ๔๔ หลังคาเรือน บ้านป่าก่อ ระยะทางห่างจากบ้านสะปัน ๔ กิโลเมตร สภาพถนนเป็นทางเดินเท้าขึ้นเขา มีประชากร ๔๔ คน แยกเป็น ๑๐ ครอบครัว ๙ หลังคาเรือน บ้านนาโปร่ง ระยะทางจากบ้านสะปัน ๒ กิโลเมตร สภาพถนนเป็นทางเดินเท้า มีประชากร ๑๗๒ คน แยกเป็น ๔๐ ครอบครัว ๒๘ หลังคาเรือน บ้านห้วยโทน ระยะทางห่างจากบ้านสะปัน ๘ กิโลเมตร สภาพถนนเป็นทางเดินเท้าขึ้นเขา มีประชากร ๓๕๐ คน แยกเป็น ๗๐ ครอบครัว ๕๐ หลังคาเรือน บ้านห้วยข่า ระยะทางห่างจากบ้านสะปัน ๑ กิโลเมตร สภาพถนนเป็นทางเดินเท้า ทุกหมู่บ้านมีสภาพยากจน ระยะทางไปมาลำบาก ชาวบ้านมีอาชีพทำไร่ และรับจ้างหาหวาย

    โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    ครูผู้รับผิดชอบ คือ นายเสน่ห์ นันธิสิงห์
    หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน ได้แก่ สำนักงานเกษตรอำเภอบ่อเกลือ และสำนักงานประมงจังหวัด
    แหล่งน้ำใช้ในการเกษตร ประปาภูเขา
    แหล่งน้ำสำรับดื่ม ประปาภูเขา
    ปัจจุบันมีการประกอบเลี้ยง ๕ ครั้ง/สัปดาห์
    ผู้ประกอบเลี้ยง คือ ครูและกลุ่มแม่บ้าน
    โรงเรียนได้รับการสนับสนุนค่าอาหารกลางวันจากกระทรวงศึกษาธิการ ได้รับในอัตรา ๕ บาท/คน/วัน และได้รับอาหารเสริมแป้งถั่วเหลืองพระราชทาน ปีการศึกษา ๒๕๔๑ ภาคเรียนที่ ๑ จากสำนักงานโครงการส่วนพระองค์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
    จำนวน ๕๕ กิโลกรัม โดยแปรรูปเป็นอาหารเสริมนมถั่วเหลืองให้นักเรียนดื่มทุกวัน

    ผลผลิตทางการเกษตร ระหว่างเดือนพฤษภาคม ๒๕๔๐ - มีนาคม ๒๕๔๑
    เดือน หมวด
    เนื้อสัตว์ ถั่ว ผัก ผลไม้
    พฤษภาคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๙.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย
    (กรัม/คน/มื้อ)
    ๒.๗๓ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐
      %ผลผลิตที่ได้/
    ความต้องการ (กรัม)
    ๕.๙๔ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐
      ประเมินผล ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    มิถุนายน ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๙.๐๐ ๐.๐๐ ๔๒.๐๐ ๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย
    (กรัม/คน/มื้อ)
    ๑.๙๒ ๐.๐๐ ๘.๙๗ ๐.๐๐
      %ผลผลิตที่ได้/
    ความต้องการ (กรัม)
    ๔.๘๐ ๐.๐๐ ๘.๙๗ ๐.๐๐
      ประเมินผล ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    กรกฎาคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๕๐.๐๐ ๐.๐๐ ๑๐๔.๐๐ ๑๔๑.๑๑
      ผลผลิตเฉลี่ย
    (กรัม/คน/มื้อ)
    ๑๐.๖๘ ๐.๐๐ ๒๒.๒๑ ๓๐.๑๑
      %ผลผลิตที่ได้/
    ความต้องการ (กรัม)
    ๒๖.๖๙ ๐.๐๐ ๒๒.๒๑ ๓๐.๑๑
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง พอใช้
    สิงหาคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๙๕.๐๐ ๐.๐๐ ๗๕.๐๐ ๖๔.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย
    (กรัม/คน/มื้อ)
    ๒๑.๓๐ ๐.๐๐ ๑๖.๘๒ ๑๔.๕๗
      %ผลผลิตที่ได้/
    ความต้องการ (กรัม)
    ๕๓.๒๕ ๐.๐๐ ๑๖.๘๒ ๑๔.๕๗
      ประเมินผล ดี ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    กันยายน ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๕๙.๐๐ ๐.๐๐ ๔๐.๐๐ ๘๒.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย
    (กรัม/คน/มื้อ)
    ๑๒.๐๓ ๐.๐๐ ๘.๑๕ ๑๖.๗๑
      %ผลผลิตที่ได้/
    ความต้องการ (กรัม)
    ๓๐.๐๗ ๐.๐๐ ๘.๑๕ ๑๖.๗๑
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    ตุลาคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๓๕.๐๐ ๐.๐๐ ๕๐.๐๐ ๘๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย
    (กรัม/คน/มื้อ)
    ๑๐.๔๖ ๐.๐๐ ๑๔.๙๕ ๒๓.๙๒
      %ผลผลิตที่ได้/
    ความต้องการ (กรัม)
    ๒๖.๑๖ ๐.๐๐ ๑๔.๙๕ ๒๓.๙๒
      ประเมินผล พอใช้ ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    พฤศจิกายน ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๓๐.๐๐ ๐.๐๐ ๗๗.๐๐ ๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย
    (กรัม/คน/มื้อ)
    ๙.๖๑ ๐.๐๐ ๒๔.๖๖ ๐.๐๐
      %ผลผลิตที่ได้/
    ความต้องการ (กรัม)
    ๒๔.๐๒ ๐.๐๐ ๒๔.๖๖ ๐.๐๐
      ประเมินผล ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
    ธันวาคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๓๐.๐๐ ๐.๐๐ ๑๗๕.๐๐ ๖๘.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย
    (กรัม/คน/มื้อ)
    ๖๑.๔๑ ๐.๐๐ ๓๗.๓๗ ๑๔.๕๒
      %ผลผลิตที่ได้/
    ความต้องการ (กรัม)
    ๑๖.๐๒ ๐.๐๐ ๓๗.๓๗ ๑๔.๕๒
      ประเมินผล ปรับปรุง ปรับปรุง พอใช้ ปรับปรุง
    มกราคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๙๓.๐๐ ๐.๐๐ ๑๒๕.๐๐ ๘๒.๖๗
      ผลผลิตเฉลี่ย
    (กรัม/คน/มื้อ)
    ๒๑.๙๕ ๐.๐๐ ๒๙.๕๐ ๑๙.๕๑
      %ผลผลิตที่ได้/
    ความต้องการ (กรัม)
    ๕๔.๘๗ ๐.๐๐ ๒๙.๕๐ ๑๙.๕๑
      ประเมินผล ดี ปรับปรุง พอใช้ ปรับปรุง
    กุมภาพันธ์ ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๑๗.๐๐ ๐.๐๐ ๓๒๕.๐๐ ๕๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย
    (กรัม/คน/มื้อ)
    ๔.๐๑ ๐.๐๐ ๗๖.๗๑ ๑๑.๘๐
      %ผลผลิตที่ได้/
    ความต้องการ (กรัม)
    ๑๐.๐๓ ๐.๐๐ ๗๖.๗๑ ๑๑.๘๐
      ประเมินผล ปรับปรุง ปรับปรุง ดีมาก ปรับปรุง
    มีนาคม ผลผลิตรวม (กิโลกรัม) ๑๗๐๐ ๐.๐๐ ๓๒๕.๐๐ ๕๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย
    (กรัม/คน/มื้อ)
    ๕.๔๕ ๐.๐๐ ๑๐๔.๑๐ ๑๖.๐๒
      %ผลผลิตที่ได้/
    ความต้องการ (กรัม)
    ๑๓.๖๑ ๐.๐๐ ๑๐๔.๑๐ ๑๖.๐๒
      ประเมินผล ปรับปรุง ปรับปรุง ดีมาก ปรับปรุง

    หมายเหตุ คำอธิบายการแปลผล/เกณฑ์ > ๗๕%   = ดีมาก
    > ๕๐% - ๗๕%   = ดี
    > ๒๕% - ๕๐%   = พอใช้
    < ๒๕%   = ปรับปรุง

    มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ (ปีการศึกษา ๒๕๔๐ ครั้งที่ ๓)
    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    ระดับ ๑
    ระดับ ๒
    ระดับ ๓
    รวม
    % ต่ำ
    กว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    เด็กเล็ก
    ๕๖
    ๕๖
    ๓๒
    ๒๔
    ๒๔
    ๔๒.๘๖
    ปรับปรุง

    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    จำนวนต่ำ
    กว่าเกณฑ์
    % ต่ำกว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    ประถม ๑
    ๕๔
    ๕๔
    ๒๖
    ๒๘
    ๕๑.๘๕
    ปรับปรุง
    ประถม ๒
    ๖๘
    ๖๘
    ๔๗
    ๒๑
    ๓๐.๘๘
    ปรับปรุง
    ประถม ๓
    ๓๒
    ๓๒
    ๒๐
    ๑๒
    ๓๗.๕๐
    ปรับปรุง
    ประถม ๔
    ๒๑
    ๒๑
    ๑๔
    ๓๓.๓๓
    ปรับปรุง
    ประถม ๕
    ๑๘
    ๑๘
    ๑๔
    ๒๒.๒๒
    พอใช้
    ประถม ๖
    ๑๗
    ๑๗
    ๑๑
    ๓๕.๒๙
    ปรับปรุง
    รวม
    ๒๑๐
    ๒๑๐
    ๑๓๒
    ๗๘
    ๓๗.๑๔
    ปรับปรุง

    รายการสิ่งของพระราชทาน
    ปีการศึกษา ๒๕๓๙
    ๑) แป้งถั่วเหลือง ๓ งวด จำนวน ๑๗๐ กิโลกรัม
    ๒) น้ำตาลทราย ๓ งวด จำนวน ๑๗๐ กิโลกรัม
    ๓) เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด

    ปีการศึกษา ๒๕๔๐
    ๑) แป้งถั่วเหลือง ๓ งวด จำนวน ๑๒๕ กิโลกรัม
    ๒) น้ำตาลทราย ๓ งวด จำนวน ๑๒๕ กิโลกรัม
    ๓) เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด

    ปีการศึกษา ๒๕๔๑
    ๑) แป้งถั่วเหลือง ๑ งวด จำนวน ๕๕ กิโลกรัม
    ๒) น้ำตาลทราย ๑ งวด จำนวน ๕๕ กิโลกรัม
    ๓) เมล็ดพันธุ์ผัก ๑ งวด จำนวน ๑ ชุด

    แหล่งอ้างอิง : สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
    สยามบรมราชกุมารี. (๑๘๑)
    (นน. ท๑ ส๖๕๒ ๒๕๔๑)