ประวัติโรงเรียนนาเพียงสว่างวิทยานุกุล ข้อมูลนักเรียน
การดำเนินโครงการ ผลการดำเนินโครงการ

ประวัติโรงเรียนนาเพียงสว่างวิทยานุกุล

หมู่ที่ ๔ บ้านนาเพียงใหญ่ ตำบลนาเพียง อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดกลนคร
ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๔ โดยอาศัยศาลาวัดเป็นที่เรียนมีชื่อว่า "โรงเรียนวันโพนสว่าง" ตำบลอุ่มจาน อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร โดยมีนายตู้ กองวงศ์ษา และนายกง ทะวงศ์นา ทำหน้าที่ครูสอน จำนวนนักเรียนไม่ปรากฏหลักฐาน
พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น "โรงเรียนประชาบาลตำบลอุ่มจานวัดบ้านโพนสว่าง" มีอาคารเรียนถาวร โดนราษฎรสมทบทุน ขนาด ๔ ห้องเรียน
วันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๙๙ ทำพิธีเปิดป้ายโรงเรียน โดยได้เปลี่ยนชื่อว่า "โรงเรียนนาเพียงสว่างวิทยานุกุ" มีนักเรียนจากหมู่ที่ ๒, ๓, ๔ และ ๕ ซึ่งได้แก่บ้านนาเพียงใหม่ บ้านาเพียงเก่า และบ้านศรีคงคำ
พ.ศ. ๒๕๑๔ ทางราชการได้อนุมัติให้เปิดสอนในระดับประถมศึกษาตอนปลาย คือ ประถมศึกษาปีที่ ๕ - ๖
วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๓๔ คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตามโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา
โรงเรียนมีพื้นที่ทั้งหมด ๓๕ ไร่ ๘๑ ตารางวา

ข้อมูลนักเรียน
ระบบการศึกษา
โรงเรียนนาเพียงสว่างวิทยานุกูล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ พื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอกุลุมาลย์ จังหวัดสกลนคร
โรงเรียนเปิดทำการสอนตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๖๔ โดยรับเด็กจากหมู่บ้านนาเพียงใหม่ นาเพียงเก่า ศรีคงคำ ดำเนินการสอนเป็น ๒ ภาคเรียน ดังนี้
  • ภาคเรียนที่ ๑ เปิด ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๐ ถึง ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๐
  • ภาคเรียนที่ ๒ เปิด ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๐ ถึง ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๐

  • จำนวนครูและนักเรียน
    ปัจจุบัน (ปีการศึกษา ๒๕๔๐) มีนักเรียน ๔๗๔ คน เป็นชาย ๒๒๙ คน หญิง ๒๔๕ คน มีครู ๒๑ นายผู้ดูแลเด็ก ๑ คน นักการภารโรง ๒ คน

    ตารางแสดงจำนวนนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๔๐
    ระดับชั้น
    ชาย
    หญิง
    รวม
    เด็กเล็กก่อนวัยเรียน
    ๔๑
    ๕๕
    ๙๖
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
    ๓๑
    ๒๘
    ๕๙
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
    ๑๗
    ๒๐
    ๓๗
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
    ๑๗
    ๑๕
    ๓๒
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
    ๒๒
    ๑๘
    ๔๐
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
    ๓๐
    ๒๙
    ๕๙
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
    ๒๕
    ๒๑
    ๔๖
    รวม
    ๑๘๓
    ๑๘๖
    ๓๖๙
    ชั้นมัธยมศึกษาที่ปี ๑
    ๑๔
    ๒๒
    ชั้นมัธยมศึกษาที่ปี ๒
    ๑๘
    ๓๓
    ๕๑
    ชั้นมัธยมศึกษาที่ปี ๓
    ๒๐
    ๑๒
    ๓๒
    รวม
    ๔๖
    ๕๙
    ๑๐๕
    รวมทั้งหมด
    ๒๒๙
    ๒๔๕
    ๔๗๔

    การศึกษาต่อของนักเรียนและการประกอบอาชีพของนักเรียน (ปีการศึกษา ๒๕๓๗ - ๒๕๓๙)
    ปีการศึกษา ๒๕๓๗
    นักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๗๐ คน ศึกษาต่อ ๓๑ คน ประกอบอาชีพ ๓๙ คน
    นักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ จำนวน ๒๙ คน ศึกษาต่อ ๖ คน ประกอบอาชีพ ๒๓ คน
    ปีการศึกษา ๒๕๓๘
    นักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๖๘ คน ศึกษาต่อ ๔๓ คน ประกอบอาชีพ ๒๕ คน
    นักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ จำนวน ๒๑ คน ศึกษาต่อ ๘ คน ประกอบอาชีพ ๑๓ คน
    ปีการศึกษา ๒๕๓๙
    นักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๔๒ คน ศึกษาต่อ ๑๙ คน ประกอบอาชีพ ๒๓ คน
    นักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ จำนวน ๒๓ คน ศึกษาต่อ ๓ คน ประกอบอาชีพ ๒๐ คน

    การดำเนินโครงการ
    โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    ครูผู้รับผิดชอบ คือ นายนิเวศน์ เสมอพิทักษ์
    ผู้ดำเนินงานโครงการฯ คือ ครู อาจารย์ นักเรียน นักการภารโรง ทุกคน
    หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน ได้แก่ เกษตรอำเภอกุสุมาลย์ เกษตรจังหวัดสกลนคร ประมงสกลนคร ปศุสัตว์จังหวัดสกลนคร
    แหล่งน้ำที่ใช้ในการเกษตร น้ำบาดาล
    แหล่งน้ำสำหรับดื่ม น้ำฝน
    ปัจจุบันมีการประกอบเลี้ยง ๕ ครั้ง/สัปดาห์
    ผู้ประกอบการเลี้ยง คือ นางสุดสวาท ทาแก้ว
    การเฝ้าระวัง มีนักเรียนที่มีภาวะต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๓๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๒๐
    โรงเรียนได้รับการสนับสนุนค่าอาหารกลางวันจากกระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับในอัตรา ๕ บาท/คน/วัน และได้รับอาหารเสริมปีการศึกษา ๒๕๔๐ คือ แป้งถั่วเหลือง จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๑๔๕ กิโลกรัม
    โรงเรียนได้ดำเนินการจัดทำอาหารเสริมให้นักเรียน ดังนี้
    ให้นักเรียนชั้นเด็กเล็กก่อนวัยเรียน - ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ดื่มนมสดของ สปช.
    ให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ - ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ดื่มนมสดถั่วเหลือง
    ให้นักเรียนชั้นเด็กเล็กก่อนวัยเรียน - ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ที่ขาดสารอาหาร ดื่มนมพระราชทาน (เฉพาะวันหยุด)
    เด็กนักเรียนที่ขาดสารอาหารดื่มนมถั่วเหลืองทุกวัน

    ผลการดำเนินโครงการ
    ผลผลิตทางการเกษตร ระหว่างเดือนพฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๔๐
    เดือน หมวด
    เนื้อสัตว์ ถั่ว ผัก ผลไม้
    พฤษภาคม
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ(กรัม)
    ประเมินผล
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๑๖.๐๐
    ๔.๓๔
    ๔.๓๔
    ปรับปรุง
    มิถุนายน
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ(กรัม)
    ประเมินผล
    ๔๐.๐๐
    ๕.๑๖
    ๑๒.๙๐
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๑๘๐.๐๐
    ๒๓.๒๓
    ๒๓.๒๓
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    กรกฎาคม
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ(กรัม)
    ประเมินผล
    ๑๖.๐๐
    ๒.๐๖
    ๕.๑๖
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    สิงหาคม
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ(กรัม)
    ประเมินผล
    ๑๗๐.๐๐
    ๒.๓๐
    ๕.๗๖
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง

    หมายเหตุ คำอธิบายการแปลผล/เกณฑ์
    > ๗๕% = ดีมาก
    > ๕๐% - ๗๕% = ดี
    > ๒๕% - ๕๐% = พอใช้
    < ๒๕% = ปรับปรุง

    มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ (ปีการศึกษา ๒๕๔๐ ครั้งที่ ๑)
    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    ระดับ๑
    ระดับ๒
    ระดับ๓
    รวม
    % ต่ำกว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    เด็กเล็ก
    ๙๖
    ๘๗
    ๗๔
    ๑๓
    ๑๓
    ๑๔.๙๔
    ดี

    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    จำนวนต่ำกว่าเกณฑ์
    % ต่ำกว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    ประถม ๑
    ๕๙
    ๕๘
    ๔๖
    ๑๒
    ๒๐.๖๘
    พอใช้
    ประถม ๒
    ๓๗
    ๓๖
    ๒๙
    ๑๙.๔๔
    ดี
    ประถม ๓
    ๓๒
    ๓๐
    ๒๓
    ๒๓.๓๓
    พอใช้
    ประถม ๔
    ๔๐
    ๓๘
    ๓๖
    ๕.๒๖
    ดีมาก
    ประถม ๕
    ๕๙
    ๕๙
    ๕๗
    ๓.๓๘
    ดีมาก
    ประถม ๖
    ๔๖
    ๔๔
    ๓๙
    ๑๑.๓๖
    ดี
    รวม
    ๒๗๓
    ๒๖๕
    ๒๓๐
    ๓๕
    ๑๓.๒๐
    ดี

    แหล่งอ้างอิง : สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
    สยามบรมราชกุมารี. (๑๐๑)
    (อีสาน. ท๑ ส๖๕๒๖๔ ๒๕๔๐)