ประวัติโรงเรียนบ้านโคกม่วง ข้อมูลนักเรียน
การดำเนินโครงการ ผลการดำเนินโครงการ

ประวัติโรงเรียนบ้านโคกม่วง

หมู่ที่ ๒ บ้านโคกม่วง ตำบลนาโพธิ์ อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร
จัดตั้งเมื่อวันที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๐๖ โดยอาศัยศาลาการเปรียญวัดโคกม่วงเป็นที่เรียน มีพื้นที่ ๑๔ x ๖ เมตร มีนักเรียนทั้งหมด ๕๐ คน เป็นนักเรียนชาย ๓๐ คน นักเรียนหญิง ๒๐ คน จัดการเรียนการสอนเป็น ๒ ชั้น คือชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ จำนวน ๔๐ คน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ จำนวน ๑๐ คน จัดการสอนแบบครูคนเดียว
ปี พ.ศ. ๒๕๑๐ กระทรวงมหาดไทยได้จัดสรรงบประมาณให้ปลูกสร้างอาคารเรียนถาวร จำนวน ๑ หลัง
ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ โรงเรียนได้เปลี่ยนสังกัด โดยโอนจากสังกัดกระทรวงมหาดไทยไปสังกัดสำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ กระทวงศึกษาธิการ
ปัจจุบัน โรงเรียนจัดการเรียนการสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาล อายุ ๓ ขวบ ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มี ๙ ห้องเรียน
โรงเรียนมีพื้นที่ทั้งหมด ๔๘ ไร่

ข้อมูลนักเรียน
ระบบการศึกษา
โรงเรียนบ้านโคกม่วง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ
โรงเรียนเปิดทำการสอนตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๐๖ โดยรับเด็กจากหมู่บ้านโคกม่วง บ้านขาไก่ และบ้านโคกสว่าง ดำเนินการสอนเป็น ๒ ภาคเรียน ดังนี้
  • ภาคเรียนที่ ๑ เปิด ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๐ ถึง ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๐
  • ภาคเรียนที่ ๒ เปิด ๓ พฤศจิกายน ๒๖๔๐ ถึง ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๑

  • จำนวนครูและนักเรียน
    เมื่อเริ่มก่อตั้ง มีนักเรียน ๕๐ คน มีข้าราชการครู ๑ นาย
    ปัจจุบัน (ปีการศึกษา ๒๕๔๐) มีนักเรียน ๑๗๔ คน เป็นชาย ๘๕ คน หญิง ๘๙ คน ข้าราชการครู ๗ คน นักการภารโรง ๑ คน

    ตารางแสดงจำนวนนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๔๐
    ชั้น
    ชาย
    หญิง
    รวม
    เด็กเล็กก่อนวัยเรียน
    ๑๗
    ๒๒
    ๒๙
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
    ๑๐
    ๑๓
    ๒๓
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
    ๑๒
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
    ๑๑
    ๒๐
    ๓๑
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
    ๑๗
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
    ๒๐
    ๑๑
    ๓๑
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
    ๑๒
    ๒๑
    รวม
    ๘๕
    ๘๙
    ๑๗๔

    การศึกษาต่อของนักเรียนและการประกอบอาชีพของนักเรียน (ปีการศึกษา ๒๕๓๗ - ๒๕๓๙)
    ปีการศึกษา ๒๕๓๗ มีนักเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เข้ารับการศึกษาต่อ จำนวน ๓ คน
    ปีการศึกษา ๒๕๓๘ มีนักเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เข้ารับการศึกษาต่อ จำนวน ๑๗ คน
    ปีการศึกษา ๒๕๓๙ มีนักเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เข้ารับการศึกษาต่อ จำนวน ๑๒ คน
    รวมมีนักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๓๗ - ๒๕๓๙ เข้ารับการศึกษาต่อ ทั้งหมด จำนวน ๓๒ คน

    การดำเนินโครงการ
    โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    ครูผู้รับผิดชอบ คือ นายสุภักดิ์ จิตราช
    ผู้ดำเนินงานโครงการฯ คือ คณะครู และนักเรียน
    หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน ได้แก่ เกษตรอำเภอกุสุมาลย์ เกษตรจังหวัดสกลนคร
    แหล่งน้ำที่ใช้ในการเกษตร น้ำบาดาล และสระน้ำ
    แหล่งน้ำสำหรับดื่ม น้ำฝน
    ปัจจุบันมีการประกอบเลี้ยง ๕ ครั้ง/สัปดาห์
    ผู้ประกอบการเลี้ยง คือ คณะครู และนักเรียนที่รับผิดชอบ
    การเฝ้าระวัง มีนักเรียนที่มีภาวะต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๒๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๔๘
    โรงเรียนได้รับการสนับสนุนค่าอาหารกลางวันจากกระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับในอัตรา ๕ บาท/คน/วัน และได้รับอาหารเสริมปีการศึกษา ๒๕๔๐ คือ แป้งถั่วเหลือง จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๘๕ กิโลกรัม โดยให้ นักเรียนดื่มทุกวันจันทร์ พุธ และศุกร์ และโรงเรียนจัดซื้อนมพาสเจอร์ไรส์ จากสหกรณ์โคนมวาริชภูมิ ซึ่งผู้ขายจะนำมาส่งที่โรงเรียนทุกวัน ให้นักเรียนที่อยู่ระดับก่อนประถม และประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ ทุกคนดื่มทุกวันราชการ

    ผลการดำเนินโครงการ
    ผลผลิตทางการเกษตร ระหว่างเดือนพฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๔๐
    เดือน หมวด
    เนื้อสัตว์ ถั่ว ผัก ผลไม้
    พฤษภาคม
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ(กรัม)
    ประเมินผล
    ๓๖.๐๐
    ๑๒.๗๗
    ๓๑.๙๑
    พอใช้
    ๒๗.๐๐
    ๙.๕๗
    ๓๘.๓๐
    พอใช้
    ๒๑.๕๐
    ๗.๖๒
    ๗.๖๒
    พอใช้
    ๕๖.๐๐
    ๑๙.๘๖
    ๑๙.๘๖
    ปรับปรุง
    มิถุนายน
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ(กรัม)
    ประเมินผล
    ๒๐.๐๐
    ๓.๓๘
    ๘.๔๔
    ปรับปรุง
    ๖๓.๐๐
    ๑๐.๖๔
    ๔๒.๕๕
    พอใช้
    ๑๖๓.๐๐
    ๒๗.๕๒
    ๒๗.๕๒
    พอใช้
    ๕๐.๐๐
    ๘.๔๔
    ๘.๔๔
    ปรับปรุง
    กรกฎาคม
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ(กรัม)
    ประเมินผล
    ๕๕.๐๐
    ๙.๒๙
    ๒๓.๒๒
    ปรับปรุง
    ๗๘.๐๐
    ๑๓.๑๗
    ๕๒.๖๘
    ดี
    ๑๕๓.๐๐
    ๒๕.๘๔
    ๒๕.๘๔
    พอใช้
    ๗๐.๐๐
    ๑๑.๘๒
    ๑๑.๘๒
    ปรับปรุง
    สิงหาคม
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ(กรัม)
    ประเมินผล
    ๑๗๐.๐๐
    ๓๐.๑๔
    ๗๕.๓๕
    ดีมาก
    ๙๕.๐๐
    ๑๖.๘๔
    ๖๗.๓๘
    ดี
    ๒๔๕.๐๐
    ๕๓.๔๔
    ๔๓.๔๔
    พอใช้
    ๒๗๕.๐๐
    ๓๑.๐๓
    ๓๑.๐๓
    พอใช้

    หมายเหตุ คำอธิบายการแปลผล/เกณฑ์
    > ๗๕% = ดีมาก
    > ๕๐% - ๗๕% = ดี
    > ๒๕% - ๕๐% = พอใช้
    < ๒๕% = ปรับปรุง

    มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ (ปีการศึกษา ๒๕๔๐ ครั้งที่ ๑)
    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    ระดับ๑
    ระดับ๒
    ระดับ๓
    รวม
    % ต่ำกว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    เด็กเล็ก
    ๓๙
    ๓๙
    ๒๒
    ๑๗
    ๑๗
    ๔๓.๕๘
    ปรับปรุง

    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    จำนวนต่ำกว่าเกณฑ์
    % ต่ำกว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    ประถม ๑
    ๒๓
    ๒๓
    ๑๗
    ๒๖.๐๘
    พอใช้
    ประถม ๒
    ๑๒
    ๑๒
    ๑๕.๐๐
    พอใช้
    ประถม ๓
    ๓๑
    ๓๑
    ๒๕
    ๑๙.๓๕
    ดี
    ประถม ๔
    ๑๗
    ๑๗
    ๑๓
    ๒๓.๕๒
    พอใช้
    ประถม ๕
    ๓๑
    ๓๑
    ๒๓
    ๒๕.๘๐
    พอใช้
    ประถม ๖
    ๒๑
    ๒๑
    ๑๙
    ๙.๕๒
    ดีมาก
    รวม
    ๑๓๕
    ๑๓๕
    ๑๐๖
    ๒๙
    ๒๑.๔๘
    พอใช้

    แหล่งอ้างอิง : สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
    สยามบรมราชกุมารี. (๑๐๑)
    (อีสาน. ท๑ ส๖๕๒๖๔ ๒๕๔๐)