ประวัติโรงเรียนบ้านม่วง ข้อมูลนักเรียน
การดำเนินโครงการ ผลการดำเนินโครงการ

ประวัติโรงเรียนบ้านม่วง

หมู่ที่ ๕ บ้านม่วง ตำบลนาโพธิ์ อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร
เปิดทำการสอนเมื่อวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๐๒ ใช้ศาลาวัดบ้านม่วงเป็นที่เรียน
ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ ชาวบ้านได้บริจาคที่ดินสำหรับก่อสร้างโรงเรียน โดยใช้งบประมาณ และชาวบ้านสบทบไม้หลังจากนั้นได้รับงบประมาณ ก่อสร้างบ้านพักครู ๑ หลัง
ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ได้รับงบประมาณในการก่อสร้างอาคารเรียนแบบ ป.๑ ฉ จำนวน ๔ ห้องเรียน
ปี พ.ศ. ๒๕๒๑ ได้รับงบประมาณสร้างต่อเติมอาคารเรียน ป.๑ ฉ ชั้นล่าง สร้างส้วม สร้างถังเก็บน้ำฝน
ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้รับงบประมาณสร้างถังเก็บน้ำฝนคอนกรีต ขนาด ๑๐ X ๑๐ X ๒ เมตร
ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเอนกประสงค์ สร้างส้วม
ปี พ.ศ. ๒๕๒๘ ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียนแบบ สปช.๑๐๕/๒๖ จำนวน ๓ ห้องเรียน
ปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ขออนุญาตรื้ออาคารเรียนแบบ ป.๑ ไปสร้างบ้านพักครูแบบเรือนแถว ๖ ยูนิต
ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ ได้รับงบประมาณสร้างส้วม ๒ ที่
ปี พ.ศ. ๒๕๓๒ ได้รับงบประมาณขุดสระเลี้ยงปลา
ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ ได้รับงบประมาณต่อเติมอาคารแบบ สปช.๑๐๕/๒๖ อีก ๒ ห้องเรียน
ปี พ.ศ. ๒๕๓๘ รื้อบ้านพักครูแบบเรือนแถว สร้างหอประชุมโดยคณะศิษย์เก่าสมทบทุนในการสร้าง
ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ คณะครู - อาจารย์ ร่วมกับชาวบ้าน น่วมบริจาคเงินสร้างห้องส้วมสำหรับนักเรียนอนุบาล ๓ ที่
โรงเรียนมีพื้นที่ทั้งหมด ๖ ไร่ ๓ ตารางวา

หมู่ที่ ๕ และหมู่ที่ ๑๐ บ้านม่วง ตำบลนาโพธิ์ อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร
เดิมอาศัยอยู่กับโรงเรียนบ้านนอน ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๐๒ ได้แยกออกมาอาศัยอยู่ศาลาวัดบ้านม่วง และ ปี พ.ศ. ๒๕๐๘ ผู้ปกครองนักเรียนร่วมกับทางราชการ สร้างโรงเรียนหลังใหม่ใช้งบประมาณ จำนวน ๔๐,๐๐๐ บาท พร้อมกับมอบที่ดินให้กับโรงเรียน จำนวน ๖ ไร่ ๓ ตารางวา เปิดทำการสอนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ต่อมาได้ขยายระดับการศึกษาจนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ พร้อมกับรับเด็กก่อนเกณฑ์บังคับเรียน ๑ ปี โรงเรียนได้รับรางวัลดีเด่นประเภทห้องสมุดโรงเรียนขนาดเล็ก ปีการศึกษา ๒๕๓๙ และได้รับรางวัลโรงเรียนดีเด่นขนาดกลางในปีการศึกษา ๒๕๔๐ พร้อมได้รับอนุญาตให้เปิดเป็นโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ซึ่งเปิดสอนจนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ปัจจุบันโรงเรียนบ้านม่วงเปิดทำการสอน ตั้งแต่ชั้นอนุบาลถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ แบ่งเป็น ๑๒ ห้องเรียน ในอาคารเรียน ๒ หลัง อาคารอเนกประสงค์ ๑ หลัง ส้วม ๖ หลัง หอประชุม ๑ หลัง แต่ละอาคารมีการจัดระเบียบ การใช้อย่างดี มีไฟฟ้า น้ำประปาใช้สะดวกสบาย
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ โรงเรียนบ้านม่วง เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๔๓
โรงเรียนมีพื้นที่ทั้งหมด ๖ ไร่ ๓ ตารางวา


ข้อมูลนักเรียน
ระบบการศึกษา
โรงเรียนบ้านม่วง สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ พื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานการประถมศึกษาอำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร
โรงเรียนเปิดทำการสอนตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๒ โดยรับเด็กจากหมู่บ้านม่วง ดำเนินการสอนเป็น ๒ ภาคเรียน ดังนี้
  • ภาคเรียนที่ ๑ เปิด ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๔๐ ถึง ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๐
  • ภาคเรียนที่ ๒ เปิด ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๐ ถึง ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๑
  • ภาคเรียนที่ ๑ เปิด ๑๓ ตุลาคม ๒๕๔๔ ถึง ๙ ตุลาคม ๒๕๔๔
  • ภาคเรียนที่ ๒ เปิด ๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ ถึง ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๕

  • จำนวนครูและนักเรียน
    เมื่อเริ่มก่อตั้ง มีนักเรียน ๙๒ คน มีครู ๒ คน
    ปัจจุบัน (ปีการศึกษา ๒๕๔๐) มีนักเรียน ๒๘๗ คน เป็นชาย ๑๔๖ คน หญิง ๒๓๗ คน มีครู ๑๓ คน
    เมื่อเริ่มก่อตั้ง มีนักเรียน ๙๔ คน
    ปัจจุบัน (ปีการศึกษา ๒๕๔๔) มีนักเรียน ๓๔๔ คน เป็นชาย ๑๗๙ คน หญิง ๑๖๕ คน มีครู ๑๕ คน และครูอัตราจ้าง ๒ คน นักการภารโรง ๑ คน

    ตารางแสดงจำนวนนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๔๐
    ชั้น
    ชาย
    หญิง
    รวม
    เด็กเล็กก่อนวัยเรียน
    ๔๒
    ๔๘
    ๙๐
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
    ๓๖
    ๒๕
    ๖๑
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
    ๑๕
    ๑๔
    ๒๙
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
    ๑๑
    ๑๖
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
    ๑๓
    ๒๑
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
    ๑๓
    ๒๓
    ๓๖
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
    ๑๖
    ๑๔
    ๓๐
    รวม
    ๑๔๖
    ๑๓๗
    ๒๘๓

    ตารางแสดงจำนวนนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๔๔
    ชั้น
    ชาย
    หญิง
    รวม
    เด็กเล็กก่อนวัยเรียน
    ๒๔
    ๓๖
    ๗๐
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
    ๒๕
    ๒๔
    ๔๙
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
    ๑๔
    ๑๓
    ๒๗
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
    ๑๘
    ๒๕
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
    ๒๑
    ๑๐
    ๓๑
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
    ๒๑
    ๑๘
    ๓๙
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
    ๑๒
    ๑๑
    ๒๓
    ชั้นมัธยมศึกษาที่ ๑
    ๑๓
    ๒๒
    ชั้นมัธยมศึกษาที่ ๒
    ๑๐
    ๑๒
    ๒๒
    ชั้นมัธยมศึกษาที่ ๓
    ๒๓
    ๑๓
    ๓๖
    รวม
    ๑๗๙
    ๑๖๖
    ๓๔๔

    การศึกษาต่อของนักเรียนและการประกอบอาชีพของนักเรียน (ปีการศึกษา ๒๕๓๗ - ๒๕๓๙)
    ปีการศึกษา ๒๕๓๗ มีนักเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๓๖ คน ศึกษาต่อ ๑๖ คน ไม่ได้ศึกษา ๒๐ คน
    ปีการศึกษา ๒๕๓๘ มีนักเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๒๘ คน ศึกษาต่อ ๒๗ คน ไม่ได้ศึกษาต่อ ๑๑ คน
    ปีการศึกษา ๒๕๓๙ มีนักเรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๓๐ คน ศึกษาต่อ ๒๑ คน ไม่ได้ศึกษาต่อ ๙ คน

    การศึกษาต่อของนักเรียนและการประกอบอาชีพของนักเรียน (ปีการศึกษา ๒๕๔๐ - ๒๕๔๓)
    ปัจจุบันมีนักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๖๔ คน ศึกษาต่อ จำนวน ๕๐ คน และประกอบอาชีพ จำนวน ๑๔ คน นักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ จำนวน ๓๓ คน ศึกษาค่อ จำนวน ๑๓ และประกอบอาชีพ จำนวน ๒๐ คน

    การดำเนินโครงการ
    โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    ครูผู้รับผิดชอบ คือ นายสุภักดิ์ จิตราช
    ผู้ดำเนินงานโครงการฯ คือ คณะครู และนักเรียน
    หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน ได้แก่ เกษตรอำเภอกุสุมาลย์ เกษตรจังหวัดสกลนคร
    แหล่งน้ำที่ใช้ในการเกษตร น้ำบาดาล และสระน้ำ
    แหล่งน้ำสำหรับดื่ม น้ำฝน
    ปัจจุบันมีการประกอบเลี้ยง ๕ ครั้ง/สัปดาห์
    ผู้ประกอบการเลี้ยง คือ คณะครู และนักเรียนที่รับผิดชอบ
    การเฝ้าระวัง มีนักเรียนที่มีภาวะต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๒๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๔๘
    โรงเรียนได้รับการสนับสนุนค่าอาหารกลางวันจากกระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับในอัตรา ๕ บาท/คน/วัน และได้รับอาหารเสริมปีการศึกษา ๒๕๔๐ คือ แป้งถั่วเหลือง จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๘๕ กิโลกรัม โดยให้ นักเรียนดื่มทุกวันจันทร์ พุธ และศุกร์ และโรงเรียนจัดซื้อนมพาสเจอร์ไรส์ จากสหกรณ์โคนมวาริชภูมิ ซึ่งผู้ขายจะนำมาส่งที่โรงเรียนทุกวัน ให้นักเรียนที่อยู่ระดับก่อนประถม และประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ ทุกคนดื่มทุกวันราชการ

    การดำเนินโครงการ
    โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน(๒๕๔๐ - ๒๕๔๔)
    ครูผู้รับผิดชอบ คือ นางสาววิตรี วิเศษสาคร
    หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน คือ สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
    แหล่งน้ำที่ใช้ในการเกษตร น้ำประปา
    แหล่งน้ำสำหรับดื่ม น้ำประปา และน้ำฝน
    ปัจจุบันมีการประกอบเลี้ยง ๕ ครั้ง/สัปดาห์
    ผู้ประกอบการเลี้ยง คือ ผู้เหมาจ้างจากองค์การบริหารส่วนตำบล
    การเฝ้าระวัง มีนักเรียนที่มีภาวะต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๓๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๘.๗๐
    โรงเรียนได้รับการสนับสนุนค่าอาหารกลางวันจากกระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับในอัตรา ๖ บาท/คน/วัน และมีการให้อาหารเสริม ดังนี้
     ๑. นมถุงพาสเจอร์ไรส์ ให้นักเรียนชั้นอนุบาล ๑ - ป.๔ ดื่มในวันจันทร์- ศุกร์ ส่วนวันหยุดให้เฉพาะอนุบาล - ป.๑ และนักเรียนน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ป.๒ - ป.๖
     ๒. นมถั่วเหลืองในโครงการอาหารเสริม (นม) ๕ วัน/คน/สัปดาห์
     ๓. นมกล่อง UHT ให้นักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเหณฑ์ชั้น ป.๑ - ม.๓

    ผลการดำเนินโครงการ
    ผลผลิตทางการเกษตร ระหว่างเดือนพฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๔๐
    เดือน หมวด
    เนื้อสัตว์ ถั่ว ผัก ผลไม้
    พฤษภาคม
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ(กรัม)
    ประเมินผล
    ๓๖.๐๐
    ๑๒.๗๗
    ๓๑.๙๑
    พอใช้
    ๒๗.๐๐
    ๙.๕๗
    ๓๘.๓๐
    พอใช้
    ๒๑.๕๐
    ๗.๖๒
    ๗.๖๒
    พอใช้
    ๕๖.๐๐
    ๑๙.๘๖
    ๑๙.๘๖
    ปรับปรุง
    มิถุนายน
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ(กรัม)
    ประเมินผล
    ๒๐.๐๐
    ๓.๓๘
    ๘.๔๔
    ปรับปรุง
    ๖๓.๐๐
    ๑๐.๖๔
    ๔๒.๕๕
    พอใช้
    ๑๖๓.๐๐
    ๒๗.๕๒
    ๒๗.๕๒
    พอใช้
    ๕๐.๐๐
    ๘.๔๔
    ๘.๔๔
    ปรับปรุง
    กรกฎาคม
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ(กรัม)
    ประเมินผล
    ๕๕.๐๐
    ๙.๒๙
    ๒๓.๒๒
    ปรับปรุง
    ๗๘.๐๐
    ๑๓.๑๗
    ๕๒.๖๘
    ดี
    ๑๕๓.๐๐
    ๒๕.๘๔
    ๒๕.๘๔
    พอใช้
    ๗๐.๐๐
    ๑๑.๘๒
    ๑๑.๘๒
    ปรับปรุง
    สิงหาคม
    ผลผลิตรวม (กิโลกรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ(กรัม)
    ประเมินผล
    ๑๗๐.๐๐
    ๓๐.๑๔
    ๗๕.๓๕
    ดีมาก
    ๙๕.๐๐
    ๑๖.๘๔
    ๖๗.๓๘
    ดี
    ๒๔๕.๐๐
    ๕๓.๔๔
    ๔๓.๔๔
    พอใช้
    ๒๗๕.๐๐
    ๓๑.๐๓
    ๓๑.๐๓
    พอใช้

    หมายเหตุ คำอธิบายการแปลผล/เกณฑ์
    > ๗๕% = ดีมาก
    > ๕๐% - ๗๕% = ดี
    > ๒๕% - ๕๐% = พอใช้
    < ๒๕% = ปรับปรุง

    มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ (ปีการศึกษา ๒๕๔๐ ครั้งที่ ๑)
    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    ระดับ๑
    ระดับ๒
    ระดับ๓
    รวม
    % ต่ำกว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    เด็กเล็ก
    ๓๙
    ๓๙
    ๒๒
    ๑๗
    ๑๗
    ๔๓.๕๘
    ปรับปรุง

    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    จำนวนต่ำกว่าเกณฑ์
    % ต่ำกว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    ประถม ๑
    ๒๓
    ๒๓
    ๑๗
    ๒๖.๐๘
    พอใช้
    ประถม ๒
    ๑๒
    ๑๒
    ๑๕.๐๐
    พอใช้
    ประถม ๓
    ๓๑
    ๓๑
    ๒๕
    ๑๙.๓๕
    ดี
    ประถม ๔
    ๑๗
    ๑๗
    ๑๓
    ๒๓.๕๒
    พอใช้
    ประถม ๕
    ๓๑
    ๓๑
    ๒๓
    ๒๕.๘๐
    พอใช้
    ประถม ๖
    ๒๑
    ๒๑
    ๑๙
    ๙.๕๒
    ดีมาก
    รวม
    ๑๓๕
    ๑๓๕
    ๑๐๖
    ๒๙
    ๒๑.๔๘
    พอใช้

    มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ (ปีการศึกษา ๒๕๔๔ ครั้งที่ ๑)
    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    ระดับ๑
    ระดับ๒
    ระดับ๓
    รวม
    % ต่ำกว่าเกณฑ์
    เด็กเล็ก
    ๗๐
    ๗๐
    ๖๓
    ๑๐.๐๐

    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    จำนวนต่ำกว่าเกณฑ์
    % ต่ำกว่าเกณฑ์
    ประถม ๑
    ๔๙
    ๔๙
    ๔๖
    ๖.๑๒
    ประถม ๒
    ๒๗
    ๒๗
    ๒๕
    ๗.๔๐
    ประถม ๓
    ๒๕
    ๒๕
    ๒๓
    ๘.๐๐
    ประถม ๔
    ๓๑
    ๓๑
    ๓๐
    ๓.๒๒
    ประถม ๕
    ๓๙
    ๓๙
    ๓๓
    ๑๕.๓๘
    ประถม ๖
    ๒๓
    ๒๓
    ๒๓
    ๐.๐๐
    มัธยม ๑
    ๒๒
    ๒๒
    ๑๙
    ๑๓.๖๓
    มัธยม ๒
    ๒๒
    ๒๒
    ๒๐
    ๑๓.๖๓
    มัธยม ๓
    ๓๖
    ๓๖
    ๓๓
    ๘.๓๓
    รวม
    ๒๗๕
    ๒๗๕
    ๒๕๒
    ๒๓
    ๘.๓๖

    แหล่งอ้างอิง : สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
    สยามบรมราชกุมารี. (๑๐๑) (๒๖)
    (อีสาน. ท๑ ส๖๕๒๖๔ ๒๕๔๐)
    (อีสาน. ท๑ ส๖๕๒๘๒ ๒๕๔๔)