ประวัติโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนทุ่งไม้ด้วน ๒ระบบการศึกษา
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันรายการสิ่งของพระราชทาน

ประวัติโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนทุ่งไม้ด้วน ๒

หมู่ที่ ๔ บ้านชายควน ตำบลปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๒๐ เนื่องจากเยาวชนในหมู่บ้านต้องเดินทางไปเรียน ซึ่งอยู่ไกลระยะทางประมาณ ๕ กิโลเมตร เป็นเหตุให้เด็กไม่ได้เรียน ดังนั้นผู้ปกครองจึงร่วมกันสร้างอาคารเรียนขึ้น ๑ หลัง ขนาด ๘ x ๑๖ เมตร โดยนายเสบ เหล็มเล๊ะ ผู้ใหญ่บ้าน (ขณะนั้น) เป็นผู้บริจาคที่ดินให้ จำนวน ๗ ไร่ และได้ขอครูจากอำเภอสะเดา แต่ทางอำเภอไม่สามารถให้ความช่วยเหลือได้ เนื่องจากโรงเรียนจัดตั้งขึ้นไม่ถูกต้องตามระเบียบ จึงได้ขอความช่วยเหลือไปยังกองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๓๗ (ปัจจุบัน) เพื่อจัดส่งครูไปสอนบุตรหลานของตน
ต่อมาในปี ๒๕๒๓ อาคารเรียนชำรุด ราษฎรในพื้นที่จึงได้จัดสร้างอาคารเรียนหลังใหม่ขึ้น เป็นอาคารเรียนกึ่งถาวร โดยร่วมกันบริจาคเงิน ๑๓,๙๘๐ บาท และบุคคลภายนอกช่วยเหลืออีก ๙,๖๐๐ บาท รวมเป็นเงิน ๒๓,๕๘๐ บาท หลังจากนั้นก็ได้รับความช่วยเหลือจากสถาบันต่างๆ ในการก่อสร้างอาคารเรียนอีก คือ
ปี ๒๕๒๔ คณะอาจารย์และนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ปี ๒๕๒๖ คณะนักศึกษาวิทยาลัยครูสงขลาต่อเติมอาคารเรียนด้านหน้า
ปี ๒๕๒๗ ห้างหุ้นส่วนจำกัดเชวงบริการสะเดา บริจาคปูนซิเมนต์ จำนวน ๔๐ ถุง เพื่อทำการลาดพื้นอาคารเรียน
ปี ๒๕๒๘ คณะนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ได้ต่อเติมกั้นฝาด้วยไม้จนเสร็จสมบูรณ์
ปี ๒๕๓๐ สหวิทยาลัยครูทักษิณ ได้ก่อสร้างอาคารโรงอาหาร ห้องสมุด ให้จำนวน ๑ หลัง
ปี ๒๕๓๓ - ๒๕๓๔ ศูนย์ฝึกวิชาชีพหลวงประธานฯ ร่วมกับวิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่ ร่วมกันสร้างอาคารโรงฝึกงาน ขนาด ๘ x ๑๐ เมตร จำนวน ๑ หลัง
ปี ๒๕๓๗ ได้รับงบประมาณต้นสังกัด (งบ กชช.) ซ่อมสร้างโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน เป็นเงิน ๖๐,๐๐๐ บาท ทำการสร้างอาคารชั้นอนุบาล จำนวน ๒ ห้องเรียน ขนาด ๘ x ๑๙ เมตร จำนวน ๑ หลัง
ปัจจุบันโรงเรียนมีพื้นที่ทั้งหมด ๕ ไร่ แต่เดิมมีพื้นที่ ๗ ไร่ แต่สร้างเขื่อนไป ๒ ไร่

ระบบการศึกษา
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนทุ่งไม้ด้วน ๒ เป็นโรงเรียนที่ตั้งขึ้นในสังกัดกรมตำรวจ พื้นที่รับผิดชอบของ กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๓ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
โรงเรียนเปิดทำการสอนตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๒๐ โดยรับเด็กจากหมู่บ้านชายวน ปาดังเบซาร์ และบ้านไร่ ดำเนินการสอนเป็น ๒ ภาคเรียน ดังนี้
  • ภาคเรียนที่ ๑ เปิด ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๙ ถึง ๑๐ ตุลาคม ๒๕๓๙
  • ภาคเรียนที่ ๒ เปิด ๑ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ ถึง ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๐

  • อาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก
    ทางโรงเรียนมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ดังนี้

    อาคารสถานที่
    ผู้ให้การสนับสนุน
    ๑. อาคารเรียน ๑ ได้รื้อถอนหมดแล้ว ขณะนี้กำลังดำเนินการก่อสร้างอาคารเรียนหลังใหม่
    ๒. โรงอาหาร ใช้ศาลาที่ทำการหมู่บ้านประกอบอาหารเลี้ยงนักเรียนชั่วคราว
    ๓. ห้องน้ำ, ห้องสุขา ใช้ของศาลาที่ทำการหมู่บ้านเป็นการชั่วคราว

    จำนวนครูและนักเรียน
    เมื่อเริ่มก่อตั้ง มีนักเรียน ๑๓ คน ครูตำรวจตระเวนชายแดน ๑ นาย
    ปัจจุบันมีนักเรียนทั้งสิ้น ๑๙๑ คน เป็นชาย ๑๐๐ คน หญิง ๙๑ คน มีครูตำรวจตระเวนชายแดน ๑๐ นาย ผู้ดูแลเด็ก ๒ คน

    ตารางแสดงจำนวนและคุณวุฒิ
    ยศ – ชื่อ - นามสกุล
    คุณวุฒิ
    ทำหน้าที่
    ๑. ว่าที่ ร.ต.ต.ชาญณรงค์ เพชรนิล
    อนุปริญญา
    ครูใหญ่
    ๒. ด.ต.ชาญชัย มากไมตรี
    ม.๖
    ผู้ช่วยครูใหญ่
    ๓. จ.ส.ต.ทวี หมื่นจันทร์ทอง
    อนุปริญญา
    ครูผู้สอน
    ๔. จ.ส.ต.มงคล สุโร
    ม.๖
    ครูผู้สอน
    ๕. จ.ส.ต.ฉลองช พากเพียร
    ปริญญาตรี
    ครูผู้สอน
    ๖. ส.ต.อ.สมจิตร ศิริสวัสดิ์
    อนุปริญญา
    ครูผู้สอน
    ๗. ส.ต.อ.วิทยา สิทธิชัย
    ปวช.
    ครูผู้สอน
    ๘. ส.ต.ท.รอหมาด อุมายี
    ปวช.
    ครูผู้สอน
    ๙. ส.ต.ต.มงคล สะหะคะโร
    อนุปริญญา
    ครูผู้สอน
    ๑๐. พลฯ อนุกูล อนันต์
    ปริญญาตรี
    ครูผู้สอน
    ๑๑. น.ส.อรอนงค์ กรุณกิจ
    ปริญญาตรี
    ผู้ดูแลเด็กเล็ก
    ๑๒. น.ส.สายสุดา หะยี
    ม.๖
    ผู้ดูแลเด็กเล็ก

    ตารางแสดงจำนวนนักเรียน
    ชั้น
    ชาย
    หญิง
    รวม
    เด็กเล็กก่อนวัยเรียน
    ๒๔
    ๒๔
    ๔๘
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
    ๑๕
    ๑๖
    ๓๑
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
    ๑๘
    ๑๔
    ๓๒
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
    ๑๕
    ๑๒
    ๒๗
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
    ๑๑
    ๑๙
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
    ๑๖
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
    ๑๘
    รวม
    ๑๐๐
    ๙๑
    ๑๙๑

    โครงการตามพระราชดำริที่โรงเรียนดำเนินการอยู่
    เพื่อเป็นการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สมเด็จพระเทพรัตราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำเนินงานโครงการตามพระราชดำริขึ้น ในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร (๒๕๓๕ - ๒๕๓๙) ดังต่อไปนี้

    โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    ครูผู้รับผิดชอบ คือ จ.ส.ต.มงคล สุโร
    ผู้ดำเนินงานโครงการ คือ ด.ต.ชาญณรงค์ เพชรนิล
    หน่วยงานที่รับผิดชอบ ได้แก่ เกษตรอำเภอสะเดา, เคหกิจเกษตรอำเภอสะเดา, วิทยาลัยเกษตรกรรมสงขลา, วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่, วิทยาลัยหลวงประธานหาดใหญ่ และประมงจังหวัดสงขลา

    ผลผลิตทางการเกษตร ระหว่างเดือนพฤษภาคม ๒๕๓๘ ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๓๙
    เดือน หมวด
    เนื้อสัตว์ ถั่ว ผัก ผลไม้
    มิถุนายน
    ผลผลิตรวม (กรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ
    ประเมินผล
    ๔๒,๓๐๐.๐๐
    ๑๐.๒๘
    ๒๕.๗๐
    พอใช้
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๑๑๐,๐๐๐.๐๐
    ๒๖.๗๔
    ๒๖.๗๔
    พอใช้
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    กรกฎาคม
    ผลผลิตรวม (กรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ
    ประเมินผล
    ๗๐,๐๐๐.๐๐
    ๑๙.๗๐
    ๔๙.๒๕
    พอใช้
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๖๐,๐๐๐.๐๐
    ๑๖.๘๙
    ๑๖.๘๙
    ปรับปรุง
    ๙๐,๐๐๐.๐๐
    ๒๕.๓๓
    ๒๕.๓๓
    พอใช้
    สิงหาคม
    ผลผลิตรวม (กรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ
    ประเมินผล
    ๔๐,๐๐๐.๐๐
    ๙.๓๐
    ๒๓.๒๕
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๑๖๓,๐๐๐.๐๐
    ๓๗.๙๐
    ๓๗.๙๐
    พอใช้
    ๑๐๕,๐๐๐.๐๐
    ๒๔.๔๑
    ๒๔.๔๑
    ปรับปรุง
    กันยายน
    ผลผลิตรวม (กรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ
    ประเมินผล
    ๕,๐๐๐.๐๐
    ๑.๒๗
    ๓.๑๘
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๑๙๖,๐๐๐.๐๐
    ๔๙.๙๑
    ๔๙.๙๑
    พอใช้
    ๘๕,๐๐๐.๐๐
    ๒๑.๖๕
    ๒๑.๖๕
    ปรับปรุง
    ตุลาคม
    ผลผลิตรวม (กรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ
    ประเมินผล
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๗๐,๐๐๐.๐๐
    ๕๓.๔๘
    ๕๓.๔๘
    ดี
    ๔๐,๐๐๐.๐๐
    ๓๐.๕๖
    ๓๐.๕๖
    พอใช้
    พฤศจิกายน
    ผลผลิตรวม (กรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ
    ประเมินผล
    ๑๐,๐๐๐.๐๐
    ๒.๔๓
    ๖.๐๘
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๑๕๐,๐๐๐.๐๐
    ๓๖.๔๖
    ๓๖.๔๖
    พอใช้
    ๘๕,๐๐๐.๐๐
    ๒๐.๖๖
    ๒๐.๖๖
    ปรับปรุง
    ธันวาคม
    ผลผลิตรวม (กรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ
    ประเมินผล
    ๓๐,๐๐๐.๐๐
    ๘.๐๒
    ๒๐.๐๕
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๑๖๐,๐๐๐.๐๐
    ๔๒.๗๘
    ๔๒.๗๘
    พอใช้
    ๘๕,๐๐๐.๐๐
    ๒๒.๗๓
    ๒๒.๗๓
    ปรับปรุง
    มกราคม
    ผลผลิตรวม (กรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ
    ประเมินผล
    ๒๐,๐๐๐.๐๐
    ๕.๓๕
    ๑๓.๓๗
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๑๗๐,๐๐๐.๐๐
    ๔๕.๔๕
    ๔๕.๔๕
    พอใช้
    ๖๐,๐๐๐.๐๐
    ๑๖.๐๔
    ๑๖.๐๔
    ปรับปรุง
    กุมภาพันธ์
    ผลผลิตรวม (กรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ
    ประเมินผล
    ๗,๕๐๐.๐๐
    ๒.๐๑
    ๕.๐๑
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๑๕๕,๐๐๐.๐๐
    ๔๑.๔๔
    ๔๑.๔๔
    พอใช้
    ๖๐,๐๐๐.๐๐
    ๑๖.๐๔
    ๑๖.๐๔
    ปรับปรุง
    มีนาคม
    ผลผลิตรวม (กรัม)
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ)
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ
    ประเมินผล
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ปรับปรุง
    ๙๕,๐๐๐.๐๐
    ๔๖.๑๘
    ๔๖.๑๘
    พอใช้
    ๕๕,๐๐๐.๐๐
    ๒๖.๗๔
    ๒๖.๗๔
    พอใช้

    หมายเหตุ ปริมาณผลผลิตทางการเกษตร

    คำอธิบายตัวชี้วัด
    การแปลผล/เกณฑ์
    น้ำหนักผลผลิตทางการเกษตรประเภทเนื้อ ผัก ถั่วเมล็ดแห้ง และ
    ผลไม้ที่ผลิตได้ เปรียบเทียบกับปริมาณความต้องการอาหารของ
    นักเรียน หน่วยเป็นกรัม/นักเรียน ๑ คน/มื้อ
    ณ ๗๕% = ดีมาก
    < ๗๕% = ดี
    ณ ๕๐-๒๕% = พอใช้
    < ๒๕% = ปรับปรุง

    ปัจจุบันมีการประกอบเลี้ยง ๕ ครั้ง/สัปดาห์
    มีนักเรียนที่มีภาวะต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๒๐ คน
    ผู้ประกอบเลี้ยง คือ ครู
    โรงเรียนได้รับการสนับสนุนค่าอาหารกลางวันจากกระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับในอัตรา ๕ บาท/คน/วัน ได้รับอาหารเสริมดังนี้
    ๑. นมสด UHT จาก กรมอนามัย จำนวน ๒,๔๐๐ กล่อง
    ๒. นมผง จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๓๒๐ กิโลกรัม (ปี ๒๕๓๘)
    ๓. แป้งถั่วเหลือง จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๓๘๐ กิโลกรัม (ปี ๒๕๓๘)
    ๔. นมสด UHT จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๖๔๘ กล่อง
    ๕. แลคตาซอย จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๔,๕๐๐ กล่อง

    การให้อาหารเสริม มีการดำเนินการ
    ๑. นมสด UHT ให้นักเรียนที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานดื่มวันละ ๑ กล่อง
    ๒) นมผง ให้นักเรียนทั้งหมดดื่มทุกวันอังคาร และวันพฤหัสบดี วันละ ๑ ครั้ง
    ๓) นมถั่วเหลือง ให้นักเรียนดื่มทุกวันจันทร์, วันพุธ และวันศุกร์ วันละ ๑ ครั้ง

    อัตราการมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ (ปีการศึกษา ๒๕๓๘ ครั้งที่ ๒)
    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    ระดับ๑
    ระดับ๒
    ระดับ๓
    รวม
    % ต่ำกว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    เด็กเล็ก
    ๔๔
    ๔๒
    ๓๗
    ๑๑.๙๐
    ดี

    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    จำนวนต่ำกว่าเกณฑ์
    % ต่ำกว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    ประถม ๑
    ๒๗
    ๒๗
    ๒๒
    ๑๘.๕๒
    ดี
    ประถม ๒
    ๒๗
    ๒๗
    ๒๔
    ๑๑.๑๑
    ดี
    ประถม ๓
    ๓๑
    ๓๑
    ๒๘
    ๙.๖๘
    ดีมาก
    ประถม ๔
    ๑๗
    ๑๗
    ๑๗
    ๐.๐๐
    ดีมาก
    ประถม ๕
    ๒๓
    ๒๐
    ๒๐
    ๐.๐๐
    ดีมาก
    ประถม ๖
    ๒๐
    ๒๐
    ๑๘
    ๑๐.๐๐
    ดี
    รวม
    ๑๔๕
    ๑๔๒
    ๑๒๙
    ๑๓
    ๙.๑๕
    ดีมาก

    รายการสิ่งของพระราชทาน
    ปีการศึกษา ๒๕๓๒
    ๑. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด
    ๒. ค่าเครื่องปรุง ๒ งวด จำนวน ๕,๑๐๐ บาท
    ๓. พันธุ์มะม่วง ๒๐ ต้น

    ปีการศึกษา ๒๕๓๓
    ๑. เมล็ดพันธุ์ผัก ๑ งวด จำนวน ๑ ชุด
    ๒. พันธุ์มะม่วง ๒๐ ต้น

    ปีการศึกษา ๒๕๓๔
    ๑. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด
    ๒. โครงการขุดบ่อเลี้ยงปลาดุก ๒,๙๐๐ บาท

    ปีการศึกษา ๒๕๓๕
    ๑. แป้งถั่วเหลือง ๓ งวด จำนวน ๒๔๐ กิโลกรัม
    ๒. น้ำตาลทราย ๓ งวด จำนวน ๒๔๐ กิโลกรัม
    ๓. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด
    ๔. เครื่องชั่งน้ำหนัก ๑ เครื่อง

    ปีการศึกษา ๒๕๓๖
    ๑. แป้งถั่วเหลือง ๒ งวด จำนวน ๑๘๐ กิโลกรัม
    ๒. น้ำตาลทราย ๒ งวด จำนวน ๑๘๐ กิโลกรัม
    ๓. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด

    ปีการศึกษา ๒๕๓๗
    ๑. แป้งถั่วเหลือง ๓ งวด จำนวน ๑๕๐ กิโลกรัม
    ๒. น้ำตาลทราย ๓ งวด จำนวน ๑๕๐ กิโลกรัม
    ๓. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด

    ปีการศึกษา ๒๕๓๘
    ๑. แป้งถั่วเหลือง ๓ งวด จำนวน ๓๘๐ กิโลกรัม
    ๒. น้ำตาลทราย ๓ งวด จำนวน ๓๘๐ กิโลกรัม
    ๓. นมผง ๓ งวด จำนวน ๓๒๐ กิโลกรัม
    ๔. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด

    แหล่งอ้างอิง : สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
    สยามบรมราชกุมารี. (๒๐๓)
    (ใต้ ท๑ ส๖๕๒ ๒๕๔๐)