ประวัติโรงเรียนชมรมอนุรักษ์พุทธศิลปไทยอนุสรณ์ ๒ ข้อมูลนักเรียน
การดำเนินโครงการ ผลการดำเนินโครงการ

การดำเนินโครงการ
โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน

ครูผู้รับผิดชอบคือ ส.ต.ท.พฤกษ์ เวทย์สิทธิ์
หน่วยงานที่ให้การสนับสนุนได้แก่ สถานีอนามัยตำบลนาปู่ป้อม, สำนักงานสาธารณสุขอำเภอปางมะผ้า

ผลการดำเนินโครงการ
ความชุกของคอพอกในเด็กนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๔๒/ภาคเรียนที่ ๒
จำนวน (คน) คลุม ปกติ % ระดับ รวม %
ชั้น นักเรียน ตรวจ %     ๑A % ๑B %    
ป.๑ ๑๓ ๑๐ ๗๖.๙๒ ๑๐ ๑๐๐.๐๐ ๐๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐๐.๐๐
ป.๒ ๑๘ ๑๔ ๗๗.๗๘ ๑๔ ๑๐๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐
ป.๓ ๑๖ ๑๒ ๗๕.๐๐ ๗๕.๐๐ ๒๕.๐๐ ๐.๐๐ ๒๕.๐๐
ป.๔ ๘๕.๗๑ ๑๐๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐
ป.๕ ๑๒ ๑๒ ๑๐๐.๐๐ ๑๑ ๙๑.๖๗ ๘.๓๓ ๐.๐๐ ๘.๓๓
ป.๖ ๑๐๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐
รวม ๖๙ ๕๗ ๘๒.๖๑ ๕๓ ๙๒.๙๘ ๗.๐๒ ๐.๐๐ ๗.๐๒

สภาพปัญหา
หมู่บ้านภูมิลำเนาของนักเรียนอยู่ติดแนวชายแดน มีการอพยพโยกย้าย เด็กนักเรียนไม่ได้ดื่มน้ำผสมไอโอดีนอย่างต่อเนื่อง

แนวทางการแก้ไข
๑. จ่ายน้ำยาไอโอดีนเข้มข้นขวดเดี่ยว ให้นักเรียนนำไปหยดน้ำดื่มที่บ้าน
๒. ร่วมกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบการอพยพโยกย้ายของราษฎร ติดตามดูแล และแนะนำให้ความรู้ด้สนสุขศึกษาแก่ชุมชน
๓. ส่งเสริมให้ร้านค้าในหมู่บ้านจำหน่ายเกลืออนามัย
๔. ส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนบริโภคเหลืออนามัย

แหล่งอ้างอิง : สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. (๒๐๙)