ประวัติโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านในวงระบบการศึกษา
โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันการให้อาหารเสริม มีการดำเนินการ

ประวัติโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านในวง

หมู่ที่ ๕ บ้านในวง ตำบลละอุ่นเหนือ อำเภอละอุ่น จังหวัดระนอง
เมื่อวันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๓๐ หมวดมวลชนสัมพันธ์ ร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑๕ ได้เข้าไปพัฒนาและสืบสภาพบ้านในวง ซึ่งเป็นหมู่บ้านห่างไกลคมนาคม ไม่มีสถานที่ศึกษา ผู้กำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑ จึงอนุมัติให้จัดตั้งในพื้นที่ ๑๓.๕ ไร่
ในการก่อสร้างอาคาร หมวดมวลชนสัมพันธ์ ร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑๕ และประชาชนในพื้นที่ให้การสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์และแรงงานในการก่อสร้างอาคารเรียน ขนาด ๘ x ๑๒ เมตร ต่อมาเมื่อเดือนเมษายน ๒๕๓๕ วิทยาลัยเทคนิคระนอง ได้นำคณะอาจารย์ นักศึกษา เข้ามาสร้างอาคารเรียน ขนาด ๖ x ๓๖ เมตร ๔ ห้องเรียน โดยได้รับบริจาคกระเบื้องปูนซิเมนต์จากบริษัทในเครือปูนซิเมนต์ไทยในการก่อสร้างอาคารเรียน
ปี พ.ศ.๒๕๓๖ คณะครูกรรมการโรงเรียนได้จัดหารายได้เพื่อจัดสร้างถังเก็บน้ำฝน ห้องเก็บพัสดุ และมูลนิธิสงเคราะห์ระนองได้บริจาคอุปกรณ์ก่อสร้างห้องน้ำห้องส้วม โดยกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑ สนับสนุนชุดก่อสร้าง
โรงเรียนมีพื้นที่ทั้งหมด ๑๗ ไร่

ระบบการศึกษา
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านในวง เป็นโรงเรียนที่ตั้งขึ้นในสังกัดกรมตำรวจ พื้นที่รับผิดชอบของ กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
โรงเรียนเปิดทำการสอนตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๑ โดยรับเด็กจากหมู่บ้านในวง ดำเนินการสอนเป็น ๒ ภาคเรียน ดังนี้
  • ภาคเรียนที่ ๑ เปิด ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๓๙ ถึง ๑๐ ตุลาคม ๒๕๓๙
  • ภาคเรียนที่ ๒ เปิด ๑ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ ถึง ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๐

  • อาคารสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวก
    ทางโรงเรียนมีอาคารและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ดังนี้
    อาคารสถานที่
    ผู้ให้การสนับสนุน
    ๑. อาคารเรียน ๑ กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑ ร่วมกับประชาชนในพื้นที่
    ๒. อาคารเรียน ๒ คณะครูโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน และประชาชนในพื้นที่
    ๓. ห้องสมุด กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑, กองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑๕ และประชาชนในพื้นที่
    ๔. ห้องพยาบาล กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑
    ๕. โรงอาหาร หมู่บ้านสุธาวรรณ จำกัด
    ๖. ห้องน้ำ, ห้องสุขา พีระยานุเคราะห์มูลนิธิ จังหวัดระนอง, กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ ๔๑
    ๗. เครื่องสูบน้ำ ๑ เครื่อง วิทยาลัยเกษตรกรรมระนอง
    ๘. เครื่องพิมพ์ดีด เงินรายได้โรงเรียน
    ๙. รถตัดหญ้า เงินรายได้โรงเรียน

    จำนวนครูและนักเรียน
    เมื่อเริ่มก่อตั้ง มีนักเรียน ๔๑ คน ครูตำรวจตระเวนชายแดน ๓ นาย
    ปัจจุบันมีนักเรียนทั้งสิ้น ๒๑๙ คน เป็นชาย ๙๕ คน หญิง ๑๒๔ คน มีครูตำรวจตระเวนชายแดน ๘ นาย ผู้ดูแลเด็ก ๑ คน

    ตารางแสดงจำนวนและคุณวุฒิ
    ยศ – ชื่อ - นามสกุล
    คุณวุฒิ
    หน้าที่รับผิดชอบ
    ๑. จ.ส.ต.ปรีชา กิ่มเกลี้ยง
    ม.ศ.๕
    ครูใหญ่
    ๒. ส.ต.อ.อรุณ ทองทาย
    ปวช.
    ผู้ช่วยครูใหญ่
    ๓. ส.ต.อ.ไสว พิมพ์โสดา
    ม.ศ.๕
    ครูผู้สอน
    ๔. ส.ต.ท.ประเสริฐ อ่อนรักษ์
    ม.ศ.๕
    ครูผู้สอน
    ๕. ส.ต.ท.สมพร ถิตย์รัศมี
    ปวช.
    ครูผู้สอน
    ๖. ส.ต.ต.สมศักดิ์ กล่อมสุวรรณ
    ปวช.
    ครูผู้สอน
    ๗. ส.ต.ต.เผ่าเทพ สาระวิน
    ม.๖
    ครูผู้สอน
    ๘. ส.ต.ต.สุขสรรค์ ขอบขำ
    ม.๖
    ครูผู้สอน
    ๙. นางนัจรีย์ ถิตย์รัศมี
    ม.๖
    ผู้ดูแลเด็กเล็ก

    ตารางแสดงจำนวนนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๓๙
    ชั้น
    ชาย
    หญิง
    รวม
    เด็กเล็กก่อนวัยเรียน
    ๒๐
    ๓๘
    ๕๘
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
    ๑๐
    ๑๗
    ๒๗
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
    ๑๒
    ๑๑
    ๒๓
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
    ๑๘
    ๒๖
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔
    ๑๐
    ๑๔
    ๒๔
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
    ๑๐
    ๑๓
    ๒๓
    ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
    ๒๕
    ๑๓
    ๓๘
    รวม
    ๙๕
    ๑๒๔
    ๒๑๙

    โครงการตามพระราชดำริที่โรงเรียนดำเนินการอยู่
    เพื่อเป็นการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สมเด็จพระเทพรัตราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำเนินงานโครงการตามพระราชดำริขึ้น ในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร (๒๕๓๕ - ๒๕๓๙) ดังต่อไปนี้

    โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน
    ครูผู้รับผิดชอบ คือ ส.ต.ท.สมพร ถิตย์รัศมี
    หน่วยงานที่รับผิดชอบ ได้แก่ เกษตรจังหวัดระนอง ปศุสัตว์จังหวัดระนอง วิทยาลัยเกษตรกรรมระนอง
    แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร คือ คลองหอยกาบ

    ผลผลิตทางการเกษตร ระหว่างเดือนพฤษภาคม ๒๕๓๘ ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๓๙
    เดือน หมวด
    เนื้อสัตว์ ถั่ว ผัก ผลไม้
    พฤษภาคม ผลผลิตรวม (กรัม) ๙๓,๐๐๐.๐๐ ๐.๐๐ ๑๑๕,๐๐๐.๐๐ ๖๘,๐๐๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๔๕.๐๖
    ๐.๐๐
    ๕๕.๗๒
    ๓๒.๙๕
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๑๑๒.๖๕
    ๐.๐๐
    ๕๕.๗๒
    ๓๒.๙๕
      ประเมินผล ดีมาก
    ปรับปรุง
    ดี
    พอใช้
    มิถุนายน
    ผลผลิตรวม (กรัม) ๓๙,๐๐๐.๐๐
    ๐.๐๐
    ๑๙๐,๐๐๐.๐๐
    ๑๐๖,๐๐๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๑๐.๓๑
    ๐.๐๐
    ๕๐.๓๔
    ๒๘.๐๑
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๒๕.๗๗
    ๐.๐๐
    ๕๐.๓๔
    ๒๘.๐๑
      ประเมินผล พอใช้
    ปรับปรุง
    ดี
    พอใช้
    กรกฎาคม
    ผลผลิตรวม (กรัม) ๑๑๒,๐๐๐.๐๐
    ๒๕,๐๐๐.๐๐
    ๑๐๙,๕๐๐.๐๐
    ๘๐,๐๐๐.๐๐
     
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๓๔.๒๗
    ๗.๖๕
    ๓๓.๕๑
    ๒๔.๔๘
     
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๘๕.๖๘
    ๓๐.๖๐
    ๓๓.๕๑
    ๒๔.๔๘
     
    ประเมินผล ดีมาก
    พอใช้
    พอใช้
    ปรับปรุง
    สิงหาคม
    ผลผลิตรวม (กรัม) ๑๖๐,๕๐๐.๐๐
    ๒๔,๐๐๐.๐๐
    ๘๓,๐๐๐.๐๐
    ๑๐๐,๐๐๐.๐๐
     
    ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๔๐.๕๗
    ๖.๐๗
    ๒๐.๙๘
    ๒๕.๒๘
     
    %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๑๐๑.๔๓
    ๒๔.๒๗
    ๒๐.๙๘
    ๒๕.๒๘
      ประเมินผล ดีมาก ปรับปรุง ปรับปรุง พอใช้
    กันยายน ผลผลิตรวม (กรัม) ๑๓๔,๐๐๐.๐๐ ๒๕,๐๐๐.๐๐ ๑๕๘,๐๐๐.๐๐ ๙๐,๐๐๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๓๗.๑๐ ๖.๙๒ ๔๓.๗๔ ๒๔.๙๒
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๙๒.๗๕ ๒๗.๖๙ ๔๓.๗๔ ๒๔.๙๒
      ประเมินผล ดีมาก พอใช้ พอใช้ ปรับปรุง
    ตุลาคม ผลผลิตรวม (กรัม) ๒๙,๘๐๐.๐๐ ๘,๐๐๐.๐๐ ๔๑,๐๐๐.๐๐ ๒๐,๐๐๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๒๔.๗๕ ๖.๖๔ ๓๔.๐๕ ๑๖.๖๑
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๖๑.๘๘ ๒๖.๕๘ ๓๔.๐๕ ๑๖.๖๑
      ประเมินผล ดี พอใช้ พอใช้ ปรับปรุง
    พฤศจิกายน ผลผลิตรวม (กรัม) ๑๔๓,๖๐๐.๐๐ ๓๖,๕๐๐.๐๐ ๑๔๖,๐๐๐.๐๐ ๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๓๗.๙๕ ๙.๖๕ ๓๘.๕๘ ๐.๐๐
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๙๔.๘๗ ๓๘.๕๘ ๓๘.๕๘ ๐.๐๐
      ประเมินผล ดีมาก พอใช้ พอใช้ ปรับปรุง
    ธันวาคม ผลผลิตรวม (กรัม) ๑๓๑,๕๐๐.๐๐ ๓๗,๐๐๐.๐๐ ๑๕๑,๐๐๐.๐๐ ๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๓๘.๒๓ ๑๐.๗๖ ๔๓.๙๐ ๐.๐๐
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๙๕.๕๗ ๔๓.๐๒ ๔๓.๙๐ ๐.๐๐
      ประเมินผล ดีมาก พอใช้ พอใช้ ปรับปรุง
    มกราคม ผลผลิตรวม (กรัม) ๑๔๓,๙๐๐.๐๐ ๓๖,๕๐๐.๐๐ ๑๖๔,๐๐๐.๐๐ ๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๔๑.๘๓ ๑๐.๖๑ ๔๗.๖๗ ๐.๐๐
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๙๕.๕๗ ๔๓.๐๒ ๔๓.๙๐ ๐.๐๐
      ประเมินผล ดีมาก พอใช้ พอใช้ ปรับปรุง
    กุมภาพันธ์ ผลผลิตรวม (กรัม) ๑๓๓,๑๐๐.๐๐ ๓๑,๐๐๐.๐๐ ๑๖๑,๐๐๐.๐๐ ๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๔๒.๙๙ ๑๐.๐๑ ๕๒.๐๐ ๐.๐๐
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๑๐๗.๔๘ ๔๐.๐๕ ๕๒.๐๐ ๐.๐๐
      ประเมินผล ดีมาก พอใช้ ดี ปรับปรุง
    มีนาคม ผลผลิตรวม (กรัม) ๑๔๗,๖๐๐.๐๐ ๓๔,๐๐๐.๐๐ ๑๖๕,๐๐๐.๐๐ ๐.๐๐
      ผลผลิตเฉลี่ย (กรัม/คน/มื้อ) ๔๒.๙๑ ๙.๘๘ ๔๗.๙๗ ๐.๐๐
      %ผลผลิตที่ได้/ความต้องการ ๑๐๗.๒๗ ๓๙.๕๓ ๔๗.๙๗ ๐.๐๐
      ประเมินผล ดีมาก พอใช้ พอใช้ ปรับปรุง

    หมายเหตุ ปริมาณผลผลิตทางการเกษตร
    ปัจจุบันมีการประกอบเลี้ยง ๕ ครั้ง/สัปดาห์
    มีนักเรียนที่มีภาวะต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๒๐ คน
    ผู้ประกอบเลี้ยง คือ ครู และผู้ปกครองนักเรียน
    โรงเรียนได้รับการสนับสนุนค่าอาหารกลางวันจากกระทรวงศึกษาธิการ โดยได้รับในอัตรา ๕ บาท/คน/วัน
    ได้รับอาหารเสริมดังนี้
    ๑. นมสด UHT จาก กรมอนามัย จำนวน ๔,๓๘๐ กล่อง
    ๒. นมผง จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๒๔๓ กิโลกรัม (ปี ๒๕๓๘)
    ๓. แป้งถั่วเหลือง จาก สำนักพระราชวัง จำนวน ๒๘๐ กิโลกรัม (ปี ๒๕๓๘)

    การให้อาหารเสริม มีการดำเนินการ
    ๑) นมสด UHT ให้นักเรียนที่น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานดื่มทุกวัน
    ๒) นมผง ให้นักเรียนทั้งหมดดื่มทุกวันอังคาร และวันพฤหัสบดี วันละ ๑ ครั้ง
    ๓) นมถั่วเหลือง ให้นักเรียนดื่มทุกวันจันทร์, วันพุธ และวันศุกร์ วันละ ๑ ครั้ง

    อัตราการมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ (ปีการศึกษา ๒๕๓๘ ครั้งที่ ๓)
    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    ระดับ ๑
    ระดับ ๒
    ระดับ ๓
    รวม
    % ต่ำ
    กว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    เด็กเล็ก
    ๔๖
    ๔๖
    ๓๖
    ๑๐
    ๑๐
    ๒๑.๗๔
    พอใช้

    ชั้น
    นร.ทั้งหมด
    นร.ที่ตรวจ
    นร.ปกติ
    จำนวนต่ำ
    กว่าเกณฑ์
    % ต่ำกว่าเกณฑ์
    ประเมิน
    ประถม ๑
    ๒๕
    ๒๕
    ๒๐
    ๒๐
    พอใช้
    ประถม ๒
    ๒๕
    ๒๕
    ๒๒
    ๑๒
    ดี
    ประถม ๓
    ๒๓
    ๒๓
    ๒๑
    ๘.๗๐
    ดีมาก
    ประถม ๔
    ๑๙
    ๑๙
    ๑๘
    ๕.๒๖
    ดีมาก
    ประถม ๕
    ๓๖
    ๓๖
    ๓๕
    ๒.๗๘
    ดีมาก
    ประถม ๖
    ๒๑
    ๒๑
    ๑๗
    ๑๙.๐๕
    ดี
    รวม
    ๑๔๙
    ๑๔๙
    ๑๓๓
    ๑๖
    ๑๐.๗๔
    ดี

    รายการสิ่งของพระราชทาน
    ปีการศึกษา ๒๕๓๒
    ๑. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด
    ๒. ค่าเครื่องปรุง ๒ งวด จำนวน ๒,๘๒๐ บาท
    ๓. พันธุ์มะม่วง ๒๐ ต้น

    ปีการศึกษา ๒๕๓๓
    ๑. เมล็ดพันธุ์ผัก ๑ งวด จำนวน ๑ ชุด
    ๒. พันธุ์มะม่วง ๒๐ ต้น
    ๓. ไก่พันธุ์พื้นเมืองลูกผสม ๕๐ ต้น
    ๔. มีดทำครัว, คูลเลอร์, แก้วน้ำแองเคอร์

    ปีการศึกษา ๒๕๓๔
    ๑. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด

    ปีการศึกษา ๒๕๓๕
    ๑. แป้งถั่วเหลือง ๓ งวด จำนวน ๒๐๐ กิโลกรัม
    ๒. น้ำตาลทราย ๓ งวด จำนวน ๒๐๐ กิโลกรัม
    ๓. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด
    ๔. วัสดุงานครัว จำนวน ๔,๐๖๕ บาท
    ๕. เครื่องชั่งน้ำหนัก ๑ เครื่อง

    ปีการศึกษา ๒๕๓๖
    ๑. แป้งถั่วเหลือง ๒ งวด จำนวน ๑๖๐ กิโลกรัม
    ๒. น้ำตาลทราย ๒ งวด จำนวน ๑๖๐ กิโลกรัม
    ๓. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด

    ปีการศึกษา ๒๕๓๗
    ๑. แป้งถั่วเหลือง ๓ งวด จำนวน ๙๐ กิโลกรัม
    ๒. น้ำตาลทราย ๓ งวด จำนวน ๙๐ กิโลกรัม
    ๓. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด

    ปีการศึกษา ๒๕๓๘
    ๑. แป้งถั่วเหลือง ๓ งวด จำนวน ๒๘๐ กิโลกรัม
    ๒. น้ำตาลทราย ๓ งวด จำนวน ๒๘๐ กิโลกรัม
    ๓. นมผง ๓ งวด จำนวน ๒๔๓ กิโลกรัม
    ๔. เมล็ดพันธุ์ผัก ๒ งวด จำนวน ๒ ชุด

    แหล่งอ้างอิง : สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
    สยามบรมราชกุมารี . (๑๓๔)
    (ใต้ ท๑ ส๖๕๒๕๗ ๒๕๓๗)