janthaburi
trad

sakraw
shachesao
kanjanaburi
ratchaburi
prachuap
phetchaburi
surin
ubon
amnat

mukda

loei
udon
nongkhai

phitsanulok

nan
chiangrai

chiangmai
maehonson
tak

chumpron

ranong
nakhonsri
songkhla
satun
phatthalung
trang
yala
nara
pattanee
khonkaen
buriram
sakon
ประวัติความเป็นมา
สมเด็จพระเทพรัตราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีเมตตาที่จะช่วยเหลือปัญหาคุณภาพชีวิตของเด็ก และเยาวชนที่อยู่ในท้องถิ่นทุรกันดารให้ดีขึ้น ดังพระราชดำรัสที่ว่า "อย่างเรา ๆ นั้นมีโอกาสที่ดีมาก มีอาหารกินที่ดีทุกอย่าง อยากได้อะไรก็ได้ และยังมีโอกาสรับการศึกษาเล่าเรียนอย่างเต็มที่ ซึ่งนักเรียนเหล่านั้น จะได้รับการศึกษาคงจะไปไม่ถึงระดับที่เราได้ ส่วนที่เราได้รับเป็นการพิเศษแล้ว เพราะฉะนั้นเมื่อเราเป็นบุคคลพิเศษได้โอกาสดีกว่าคนอื่น ก็เท่ากับว่าประชาชนทั้งชาติสนับสนุนมาก ให้ทุนได้ศึกษาถึงระดับอุดมศึกษา ก็จะต้องมีหน้าที่ที่จะต้องทำอะไรตอบแทน เพื่อให้เพื่อนร่วมชาติที่ได้สนับสนุนเราได้โอกาสได้ดีขึ้นกว่านี้" (พระราโชวาท เนื่องในโอกาสทรงเปิดการประชุมสัมมนาผู้ประสานงานโดยการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ณ ตึกชัยพัฒนา สวนจิตรลดา วันศุกร์ที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๓๑) สมเด็จพระเทพรัตราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดำริ ให้ดำเนินงานโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวันขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๓ ในปัจจุบันมีโครงการหลัก ๆ ที่ดำเนินการอยู่ในท้องถิ่นทุรกันดารทั้งประเทศ อีก ๖ โครงการ คือ โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษา โครงการนักเรียนในพระราชานุเคราะห์ โครงการฝึกอาชีพ โครงการส่งเสริมสหกรณ์ โครงการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน และโครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ภายหลังจากที่โปรดเกล้าฯ ให้ดำเนินการต่าง ๆ แล้ว ยังทรงห่วงใย เสด็จพระราชดำเนินออกไปทรงติดตามการดำเนินงาน และทรงเยี่ยมในทั่วทุกแห่งของประเทศอย่างสม่ำเสมอ ในการเสด็จพระราชดำเนินแต่ละครั้ง จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แพทย์ที่ตามเสด็จฯ บริการตรวจรักษาราษฏรที่เจ็บป่วยหรือมีปัญหาด้านสุขภาพอนามัยที่มารอเฝ้ารับเสด็จฯ และทรงรับผู้ป่วยบางรายไว้เป็นคนไข้ในพระราชานุเคราะห์ แต่เนื่องจากราษฏรที่เจ็บไข้มีจำนวนในมาก ทำให้แพทย์ที่ตามเสด็จฯ ไม่สามารถตรวจรักษาได้ทั่วถึง จึงมีพระราชดำริ ให้จัดหน่วยแพทย์พระราชทานขึ้นปลายปี พ.ศ. ๒๕๓๕ เพื่อทำการตรวจรักษาให้เป็นไปอย่างทั่วถึงและทันการตามพระราชประสงค์ หน่วยแพทย์พระราชทานสมเด็จพระเทพรัตราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ออกหน่วยบริการตรวจรักษาครั้งแรก ที่โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนแม่กลองคี ตำบลโมโกร อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๓๕ การดำเนินงานในช่วงแรก (พฤศจิกายน ๒๕๓๕–มีนาคม ๒๕๓๗) ได้ออกหน่วยให้บริการตรวจรักษาทั้งสิ้น ๔๓ ครั้ง มีผู้เข้ารับบริการทั้งสิ้น ๑๒,๖๔๓ คน นอกจากนี้ทรงรับเป็นผู้ป่วยในพระราชานุเคราะห์ ๖๓๔ พระราชทานทุนทรัพย์ในปี ๒๕๓๖ ไปเป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น ๓๗๘,๙๕๕ บาท

ขั้นตอนการดำเนินงาน
การดำเนินงานหน่วยแพทย์พระราชทานเสด็จพระเทพรัตราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มีขั้นตอนในการดำเนินงาน แบ่งออกเป็นสองขั้นตอนคือ
๑. ขั้นเตรียมการ ภายหลังที่ทราบสถานที่ออกหน่วยแพทย์พระราชทานแล้ว จะมีการเตรียมการโดยสำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระเทพรัตราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จะประสานงานไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขอสนับสนุนเจ้าหน้าที่มาร่วมปฏิบัติงาน และให้ช่วยจัดเตรียมสถานที่ ส่วนยาและเวชภัณฑ์สำนักงานโครงการส่วนพระองค์ฯ จะเป็นผู้จัดเตรียมไป
๒. ขั้นปฏิบัติงานออกหน่วยแพทย์พระราชทาน ก่อนจะปฏิบัติงานหน่วยแพทย์พระราชทาน เจ้าหน้าที่สำนักพระราชวัง จะทำการชี้แจงให้ผู้ร่วมปฏิบัติงานทราบความเป็นมาของโครงการฯ แนะนำผู้ร่วมปฏิบัติงานอธิบายขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน และแบ่งหน้าที่รับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ตามความเหมาะสม ต่อจากนั้น ก็จะให้บริการตรวจสุขภาพนักเรียน และตรวจรักษาประชาชนต่อไป ในขณะเดียวกัน จะมีผู้ป่วยส่วนหนึ่งซึ่งแพทย์มีความเห็นว่า สมควรจะส่งต่อเข้ารับการรักษาพยาบาลในขั้นต่อไปแต่มีฐานะยากจน สมเด็จพระเทพรัตราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จะทรงรับผู้ป่วยเหล่านั้น ไว้เป็นคนไข้ในพระราชานุเคราะห์

หน่วยงานสำคัญที่ร่วมดำเนินงาน
๑. โรงพยาบาล และสำนักงานสาธารณสุขในพื้นที่
๒. กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน กรมตำรวจ
๓. สำนักงานแพทย์ใหญ่ กรมตำรวจ
๔. สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระเทพรัตราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สำนักพระราชวัง

ผลการดำเนินงาน
๑. สถานที่ปฏิบัติ
ในรายปีที่ผ่านมา (วันที่ ๒ มิถุนายน – ๓๐ ธันวาคม ๒๕๓๗) สมเด็จพระเทพรัตราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงโปรดเกล้าฯ ให้หน่วยแพทย์พระราชทานตรวจรักษาราษฎร จำนวน ๓๙ ครั้ง โดยออกหน่วยที่ภาคกลาง ๓ ครั้ง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๑๙ ครั้ง ภาคเหนือ ๘ ครั้ง และภาคใต้ ๙ ครั้ง รายละเอียด แสดงในตารางที่ ๑

ตารางที่ ๑ สถานที่ปฏิบัติงานหน่วยแพทย์พระราชทาน (ครั้งที่ ๔๔ - ๘๒)
ครั้งที่
วันที่ เดือน ปี
ร.ร./สถานที่
ตำบล
อำเภอ
จังหวัด
๔๔
๒ มิถุนายน ๒๕๓๗ ตชด. บ้านนายาว ท่ากระดาน สนามชัยเขต ฉะเชิงเทรา
๔๕
๑๑ มิถุนายน ๒๕๓๗ ตชด. ชมรมพุทธศิลป์ไทยอนุสรณ์ ถ้ำลอด ปางมะผ้า แม่ฮ่องสอน
๔๖
๑๔ กรกฎาคม ๒๕๓๗ ตชด. บ้านหนองมะแซว นาวัง เมือง อำนาจเจริญ
๔๗
๒๕ สิงหาคม0 ๒๕๓๗ วัดราษฏร์ศรัทธาธรรม มะกอกหวาน ชัยบาลดาล ลพบุรี
๔๘
๒๑ กันยายน ๒๕๓๗ ตชด. บ้านละโอ ศรีบรรพต ศรีสาคร นราธิวาส
๔๙
๒๑ กันยายน ๒๕๓๗ ตชด.บ้านตืองอ ศรีบรรพต ศรีสาคร นราธิวาส
๕๐
๒๒ กันยายน ๒๕๓๗ ค่ายสิริธร เขาตูม ยะรัง ปัตตานี
๕๑
๒๗ กันยายน ๒๕๓๗ บ้านไอร์โซ ช้างเผือก จะแนะ นราธิวาส
๕๒
๒๗ กันยายน ๒๕๓๗ ตชด.บ้านลีลานนท์ สุคิริน สุคิริน นราธิวาส
๕๓
๓๐ กันยายน ๒๕๓๗ ตชด.บ้านทุ่งสบายใจ ทุ่งหมอ สะเดา สงขลา
๕๔
๓๐ กันยายน ๒๕๓๗ ตชด.บ้านสื่อมวลชนกีฬา สำนักแต้ว สะเดา สงขลา
๕๕
๑ ตุลาคม ๒๕๓๗ แม่ลานวิทยา แม่ลาน แม่ลาน ปัตตานี
๕๖
๒๕ ตุลาคม ๒๕๓๗ ตชด. บ้านท่าขาม ควนหนองหงษ์ ชะอวด นครศรีธรรมราช
๕๗
๒๕ ตุลาคม ๒๕๓๗ ตชด. สังวาลย์วิท ๘ แม่ไร่ แม่ฟ้าหลวง เชียงราย
๕๗
๒๕ ตุลาคม ๒๕๓๗ ตชด. สังวาลย์วิท ๘ แม่ไร่ แม่ฟ้าหลวง เชียงราย
๕๘
๙ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ เจริญดีวิทยา ลำลูกกา ลำลูกกา ปทุมธานี
๖๐
๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ ตชด. ช่างกลปทุมวันอนุสรณ์ ๙ บ้านแซว แม่จัน เชียงราย
๖๑
๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ ตชด. บ้านนาโต เทอดไท แม่ฟ้าหลวง เชียงราย
๖๒
๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ บ้านอุ่มจาน อุ่มจาน กุสุมาลย์ สกลนคร
๖๓
๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ ไพศาลวิทยา โพธิไพศาล กุสุมาลย์ สกลนคร
๖๔
๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ บ้านเลิงถ่อนโนนสมบูรณ์ หนองหญ้าไซ วังสามหมอ อุดรธานี
๖๕
๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ ตชด. บ้านห้วยดอกไม้ วิสิษฐ์ บังกาฬ หนองคาย
๖๖
๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ ตชด. โนนสำราญ โสกก่าม เซกา หนองคาย
๖๗
๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ ตชด. คอนราดเฮ็งเค็ล นาใน โพนสวรรค์ นครพนม
๖๘
๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ ตชด. ชูทิศวิทยา พะทาย ท่าอุเทน นครพนม
๖๙
๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ ตชด. บ้านสมประสงค์ โนนทอง นายูง อุดรธานี
๗๐
๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ ตชด. เฉลิมราษฏร์บำรุง นาดี ด่านซ้าย เลย
๗๑
๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ ตชด. บ้านห้วยเป้า ปากชม ปากชม เลย
๗๒
๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ บ้านวังหินซา ดงมะไฟ สุวรรณคูหา หนองบัวลำภู
๗๓
๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ บ้านโคกป่ากุง หนองเรือ โนนสัง หนองบัวลำภู
๗๔
๑ ธันวาคม ๒๕๓๗ บ้านศุภชัย คุมชาด หนองสองห้อง ขอนแก่น
๗๕
๑ ธันวาคม ๒๕๓๗ บ้านโนนสะอาด บ้านคู นาโพธิ์ บุรีรัมย์
๗๖
๒๒ ธันวาคม ๒๕๓๗ ตชด.บ้านป่าไม้ คอแลน บุญฑริก อุบลราชธานี
๗๗
๒๓ ธันวาคม ๒๕๓๗ บ้านโหง่นขาม หนามแท่ง ศรีเมืองใหม่ อุบลราชธานี
๗๘
๒๓ ธันวาคม ๒๕๓๗ บ้านนาดง หนามแท่ง ศรีเมืองใหม่ อุบลราชธานี
๗๙
๒๓ ธันวาคม ๒๕๓๗ ตชด.บ้านปากลา โขงเจียม นาโพธิ์กลาง อุบลราชธานี
๘๐
๒๘ ธันวาคม ๒๕๓๗ ตชด.บ้านถ้ำเสือ ถ้ำเสือ แม่สอด ตาก
๘๑
๒๙ ธันวาคม ๒๕๓๗ ตชด.บ้านแสมใหญ่ สามหมื่น แม่ระมาด ตาก
๘๒
๓๐ ธันวาคม ๒๕๓๗ ตชด.บ้านแม่กลองใหญ่ โมโกร อุ้มผาง ตาก

หมายเหตุ รายละเอียดการออกหน่วยแพทย์พระราชทาน ครั้งที่ ๑–๔๓ แสดงในภาคผนวก ๑

๒. การให้บริการตรวจรักษา ในการออกหน่วยแพทย์พระราชทานทั้ง ๓๙ ครั้งใน ๒๐ จังหวัด ทั่วประเทศ สามารถให้บริการตรวจรักษาราษฎร จำนวน ๙,๖๙๑ คน และตรวจสุขภาพนักเรียนเป็นนักเรียน ๓,๖๒๑ คน ดังแสดงใน ตารางที่ ๒ และ ๓

ตารางที่ ๒ จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดเข้ารับบริการตรวจรักษาทั้งหมด
ครั้งที่
สถานที่
นักเรียน
(คน)
ประชาชน
(คน)
ทรงรับไว้เป็นผู้ป่วยใน
พระราชานุเคราะห์ (คน)
๔๔
ร.ร.ตชด.บ้านนายาว
๙๒๔
๖๘๔
๒๐
๔๕
ร.ร.ตชด.ชมรมพุทธศิลปไทยอนุสรณ์
๕๗
๑๔๔
๔๖
ร.ร.ตชด.บ้านหนองมะแซว
๘๘
๔๐๐
๑๗
๔๗
วัดราษฏร์ศรัทธาธรรม
๔๑๐
๑๒
๔๘
ร.ร.ตชด.บ้านละโอ
๑๑๘
๑๕๕
๔๙
ร.ร.ตชด.บ้านตืองอ
๒๒๗
๑๒๕
๒๒
๕๐
ค่ายสิรินธร
๑๐๔
๒๒
๕๑
ร.ร.ตชด.บ้านไอโซร์
๑๑๔
๑๙๙
๕๒
ร.ร.ตชด.บ้านลีลานนท์
๕๗
๑๘๖
๕๓
ร.ร.ตชด.บ้านทุ่งสบายใจ
๑๕
๑๑๕
๑๖
๕๔
ร.ร.ตชด.สื่อมวลชนกีฬา
๑๙๒
๑๙๕
๑๖
๕๕
ร.ร.แม่ลานวิทยา
๘๓
๑๖๙
๒๔
๕๖
ร.ร.ตชด.บ้านท่าข้าม
๒๖
๓๔๔
๓๓
๕๗
ร.ร.ตชด.สังวาลย์วิท ๘
๑๕๐
๑๗๖
๕๘
ร.ร.ตชด.เทคนิคดุสิต
๘๖
๓๒๑
๑๖
๕๙
ร.ร.ตชด.เจริญดีวิทยา
๒๐๒
๖๐
ร.ร.ช่างกลปทุมวันอนุสรณ์ ๙
๘๗
๑๒๙
๖๑
ร.ร.ตชด.บ้านนาโต่
๒๐๒
๖๒
ร.ร.บ้านอุ่มจาน
๔๗๔
๖๓
ร.ร.ไพศาลวิทยา
๒๘๓
๒๗๗
๖๔
ร.ร.บ้านเลิงถ่อนโนนสมบูรณ์
๕๔๖
๑๗
๖๕
ร.ร.บ้านห้วยดอกไม้
๔๔
๓๓๙
๑๘
๖๖
ร.ร.ตชด.บ้านโนนสำราญ
๑๘๒
๑๑๔
๑๕
๖๗
ร.ร.ตชด.คอนราดเฮ็งเค็ล
๖๕
๒๕๘
๑๐
๖๘
ร.ร.ตชด.ชูทิศวิทยา
๑๕๐
๔๐๐
๑๔
๖๙
ร.ร.ตชด.บ้านสมประสงค์
๑๐๘
๒๐๔
๒๔
๗๐
ร.ร.ตชด.เฉลิมราษฏร์บำรุง
๓๐
๑๑๘
๗๑
ร.ร.ตชด.บ้านห้วยเป้า
๒๙
๓๗๔
๑๒
๗๒
ร.ร.บ้านวังหินซา
๑๔
๔๕๓
๑๕
๗๓
ร.ร.บ้านโคกป่ากุง
๓๕๕
๑๐
๗๔
ร.ร.บ้านศุภชัย
๑๓
๑๙๙
๑๑
๗๕
บ้านโนนสะอาด
๑๗๗
๗๖
ร.ร.ตชด.บ้านป่าไม้
๔๕๐
๒๖
๗๗
บ้านโหง่นขาม
๖๘
๗๘
บ้านดงนา
๔๕๐
๒๖
๗๙
ร.ร.ตชด.ปากลา
๗๐
๑๔๒
๘๐
ร.ร.ตชด.ถ้ำเสือ
๕๔
๖๑
๘๑
ร.ร.ตชด.แสมใหญ่
๙๔
๒๙๙
๘๒
ร.ร.ตชด.แม่กลองใหญ่
๑๓๖
๙๘
 
รวม
๓,๖๒๑
๙,๖๙๑
๔๖๒

ตารางที่ ๓ สรุปจำนวนผู้ป่วยทั้งหมดจำแนกตามภาค
ภาค
ปี ๒๕๓๗
ปี ๒๕๓๖
นักเรียน
(คน)
ประชาชน
(คน)
นักเรียน
(คน)
ประชาชน
(คน)
กลาง
๙๒๔
๑,๒๙๖
๕๐๓
๑,๓๒๗
ตะวันออกเฉียงเหนือ
๑,๑๒๕
๕,๓๘๐
๑๙๒
๓,๗๖๒
เหนือ
๗๔๐
๑,๔๒๓
๑,๑๖๐
๒,๖๗๑
ใต้
๘๓๒
๑,๕๙๒
๖๓๓
๒,๔๔๙
รวม
๓,๖๒๑
๙,๖๙๑
๒,๔๓๔
๑๐,๒๐๙

โรคที่ตรวจพบ
๑. การตรวจรักษาประชาชน
จากการบริการตรวจรักษาประชาชนที่ผ่านมาพบว่า โรคที่ตรวจพบมากที่สุด คือ โรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูก คิดเป็นร้อยละ ๒๓.๑๒ ของผู้เข้ารับบริการตรวจรักษาทั้งหมด โรคที่ตรวจพบมากเป็นอันดับสองคือ โรคระบบทางเดินหายใจ คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๕๒ ของผู้เข้ารับบริการตรวจรักษาทั้งหมด โรคที่ตรวจพบเป็นอันดับสาม คือ โรคระบบทางเดินอาหาร คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๐๐ ของผู้เข้ารับบริการตรวจรักษาทั้งหมด นอกจากนี้ยังตรวจพบโรคระบบอื่น ๆ อีก ดังแสดงในตารางที่ ๔ เมื่อพิจารณาในแต่ละภาคแล้วก็พบว่า สำหรับภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคใต้ โรคที่ตรวจพบมากที่สุด คือ โรคระบบทางเดินหายใจ รองลงมาคือโรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูก ส่วนในภาคอีสานนั้น โรคที่ตรวจพบมากที่สุด คือ โรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูก รองลงมาคือโรคระบบทางเดินอาหาร

๒. การตรวจสุขภาพนักเรียน
จากการให้บริการตรวจสุขภาพนักเรียนพบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีสุขภาพปกติดี คิดเป็นร้อยละ ๕๓.๙๑ แต่ก็มีบางส่วนที่เจ็บป่วย โรคที่ตรวจพบบ่อยที่สุด คือ โรคระบบทางเดินหายใจ คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๘๒ ของผู้เข้ารับบริการตรวจสุขภาพทั้งหมด โรคที่ตรวจพบมากเป็นอันดับสอง คือ โรคระบบเหงือกและฟัน คิดเป็นร้อยละ ๘.๒๐ ของผู้เข้ารับบริการตรวจสุขภาพทั้งหมด โรคที่ตรวจพบเป็นอันดับสาม คือโรคระบบทางเดินอาหาร คิดเป็นร้อยละ ๓.๔๐ ของผู้เข้ารับบริการตรวจสุขภาพทั้งหมด แสดงในตารางที่ ๕

ตารางที่๔ แสดงจำนวนประชาชนเข้ารับบริการตรวจรักษาจำแนกตามโรคที่ตรวจพบและตามภาค

ระบบโรค
ภาคกลาง
ภาคตะออกเฉียงเหนือ
ภาคเหนือ
ภาคใต้
รวม
จำนวน
(คน)
ร้อยละ
(ภาค)
ร้อยละ
(รวม)
จำนวน
(คน)
ร้อยละ
(ภาค)
ร้อยละ
(รวม)
จำนวน
(คน)
ร้อยละ
(ภาค)
ร้อยละ
(รวม)
จำนวน
(คน)
ร้อยละ
(ภาค)
ร้อยละ
(รวม)
จำนวน
(คน)
ร้อยละ
(รวม)
ทางเดินหายใจ
๓๑๖
๒๔.๓๘
๓.๒๖
๙๓๖
๑๗.๔๐
๙.๖๖
๔๘๖
๓๔.๑๕
๕.๐๑
๔๔๔
๒๗.๘๙
๔.๕๘
๒,๑๘๒
๒๒.๕๒
ทางเดินอาหาร
๑๖๕
๑๒.๗๓
๑.๗๐
๑,๑๐๕
๒๐.๕๔
๑๑.๔๐
๒๓๐
๑๖.๑๖
๒.๓๗
๑๔๗
๙.๒๓
๑.๕๒
๑,๖๔๗
๑๗.๐๐
หู ตา คอ จมูก
๔๑
๓.๑๖
๐.๔๒
๓๕๕
๖.๖๐
๓.๖๖
๖๗
๔.๗๑
๐.๖๙
๘๔
๕.๒๘
๐.๘๗
๕๔๗
๕.๖๔
ประสาท
๒๒๙
๑๗.๖๗
๒.๓๖
๕๙๗
๑๑.๑๐
๖.๑๖
๑๕๘
๑๑.๑๐
๑.๖๓
๑๖๔
๑๐.๓๐
๑.๖๙
๑,๑๔๘
๑๑.๘๕
กล้ามเนื้อและกระดูก
๒๕๕
๑๙.๖๘
๒.๖๓
๑,๔๕๙
๒๗.๑๒
๑๕.๐๖
๒๒๗
๑๕.๙๕
๒.๓๔
๓๐๐
๑๘.๘๔
๓.๑๐
๒.๒๔๑
๒๓.๑๒
ทางเดินปัสสาวะ&อวัยวะสืบพันธุ์
๑๙
๑.๔๗
๐.๒๐
๑๖๐
๒.๙๗
๑.๖๕
๑๒
๐.๘๔
๐.๑๒
๔๐
๒.๕๑
๐.๔๑
๒๓๑
๒.๓๘
ผิวหนัง
๕๙
๔.๕๕
๐.๖๑
๑๖๘
๓.๔๖
๑.๙๒
๖๔
๔.๕๐
๐.๖๖
๒๐๖
๑๒.๙๔
๒.๑๓
๕๑๕
๕.๓๑
ฟัน
๑๘๑
๑๓.๙๗
๑.๘๗
๒๐๙
๓.๘๘
๒.๑๖
๙๖
๖.๗๕
๐.๙๙
๙๘
๖.๑๖
๑.๐๑
๕๘๔
๖.๐๓
อื่น ๆ
๓๑
๒.๓๙
๐.๓๒
๓๗๓
๖.๙๓
๓.๘๕
๘๓
๕.๘๓
๐.๘๖
๑๐๙
๖.๘๕
๑.๑๒
๕๙๖
๖.๑๕
รวม
๑,๒๙๖
๑๐๐.๐๐
๑๓.๓๗
๕,๓๘๐
๑๐๐.๐๐
๕๕.๕๒
๑,๔๒๓
๑๐๐.๐๐
๑๔.๖๘
๑,๕๙๒
๑๐๐.๐๐
๑๖.๔๓
๙,๖๙๑
๑๐๐.๐๐

หมายเหตุ โรคอื่น ๆ รวมถึงผู้เข้ารับบริการตรวจรักษามีสุขภาพปกติ

ตารางที่ ๕ แสดงจำนวนนักเรียนเข้ารับบริการตรวจรักษาจำแนกตามโรคที่ตรวจพบและตามภาค
ระบบโรค
ภาคกลาง
ภาคตะออกเฉียงเหนือ
ภาคเหนือ
ภาคใต้
รวม
จำนวน
(คน)
ร้อยละ
(ภาค)
ร้อยละ
(รวม)
จำนวน
(คน)
ร้อยละ
(ภาค)
ร้อยละ
(รวม)
จำนวน
(คน)
ร้อยละ
(ภาค)
ร้อยละ
(รวม)
จำนวน
(คน)
ร้อยละ
(ภาค)
ร้อยละ
(รวม)
จำนวน
(คน)
ร้อยละ
(รวม)
ทางเดินหายใจ
๒๑๘
๒๓.๕๙
๖.๐๒
๓๔๓
๓๐.๔๙
๙.๔๗
๒๕๔
๓๔.๓๒
๗.๐๑
๑๕๖
๑๘.๗๕
๔.๓๑
๙๗๑
๒๖.๘๒
ทางเดินอาหาร
๓๗
๔.๐๐
๑.๐๒
๖๖
๕.๘๗
๑.๘๒
๑๔
๑.๘๙
๐.๓๙
๐.๗๒
๐.๑๗
๑๒๓
๓.๔๐
หู ตา คอ จมูก
๑๔
๑.๕๒
๐.๓๙
๒๑
๑.๘๗
๐.๕๘
๐.๘๑
๐.๘๑
๑๖
๑.๙๒
๐.๔๔
๕๗
๑.๕๗
ประสาท
๐.๐๐
๐.๐๐
๑๓
๑.๑๖
๐.๓๖
๐.๐๐
๐.๐๐
๐.๐๐
๐.๐๐
๑๓
๐.๓๖
กล้ามเนื้อและกระดูก
๐.๐๐
๐.๐๐
๔๐
๓.๕๖
๑.๑๐
๐.๒๗
๐.๐๖
๐.๙๖
๐.๒๒
๕๐
๑.๓๘
ทางเดินปัสสาวะ&อวัยวะสืบพันธุ์
๐.๐๐
๐.๐๐
๐.๔๔
๐.๑๔
๐.๐๐
๐.๐๐
๐.๐๐
๐.๐๐
๐.๑๔
ผิวหนัง
๖๖
๗.๑๔
๑.๘๒
๐.๘๐
๐.๒๕
๒๐
๒.๗๐
๐.๕๕
๕๘
๖.๙๗
๑.๖๐
๑๕๓
๔.๒๓
ฟัน
๐.๐๐
๐.๐๐
๗๔
๖.๕๘
๒.๐๔
๑๐๑
๑๓.๖๕
๒.๗๙
๑๒๒
๑๔.๖๖
๓.๓๗
๒๙๗
๘.๒๐
อื่น ๆ
๕๘๙
๖๓.๗๔
๑๖.๒๗
๕๕๔
๔๙.๒๔
๑๕.๓๐
๓.๔๓
๔๖.๓๕
๙.๔๗
๔๖๖
๕๖.๐๑
๑๒.๘๗
๑๙๕๒
๕๓.๙๑
รวม
๙๒๔
๑๐๐.๐๐
๒๕.๕๒
๑๑๒๕
๑๐๐.๐๐
๓๑.๐๗
๗๔๐
๑๐๐.๐๐
๒๐.๔๔
๘๓๒
๑๐๐.๐๐
๒๒.๙๘
๓,๖๒๑
๑๐๐.๐๐

หมายเหตุ โรคอื่น ๆ รวมถึงนักเรียนที่เข้ารับบริการตรวจรักษามีสุขภาพปกติ

ผู้ป่วยในพระราชานุเคราะห์
สำหรับผู้ป่วยที่เข้ารับบริการตรวจรักษาแต่ไม่สามารถทำการรักษาในพื้นที่ได้ ในรอบปีที่ผ่านมา สมเด็จพระเพทรัตราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงรับไว้เป็นผู้ป่วยในพระราชานุเคราะห์ จำนวน ๔๖๒ คน (คิดเป็นร้อยละ ๓.๔๗ คน ของผู้เข้ารับบริการตรวจรักษาทั้งหมด) พบว่าภาคกลางทรงรับไว้เป็นผู้ป่วยในพระราชานุเคราะห์ จำนวน ๔๓ คน (คิดเป็นร้อยละ ๑.๙๔ ของผู้เข้ารับบริการตรวจรักษาในภาคกลาง) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทรงรับไว้เป็นผู้ป่วยในพระราชานุเคราะห์ จำนวน ๑๕๑ คน (คิดเป็นร้อยละ ๒.๓๒ ของผู้เข้ารับบริการตรวจรักษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ภาคเหนือ ทรงรับไว้เป็นผู้ป่วยในพระราชานุเคราะห์ จำนวน ๒๓๔ คน (คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๘๒) ของผู้เข้ารับบริการตรวจรักษาในภาคเหนือ) ภาคใต้ ทรงรับไว้เป็นผู้ป่วยในพระราชานุเคราะห์ จำนวน ๓๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๔๐ ของผู้เข้ารับบริการตรวจรักษาในภาคใต้) ดังแสดงในตารางที่ ๖

ตารางที่ ๖ ผู้ป่วยในพระราชานุเคราะห์จำแนกตามภาค
ภาค
ปี ๒๕๓๗
ปี ๒๕๓๖
นักเรียน(คน)
ประชาชน(คน)
นักเรียน(คน)
ประชาชน(คน)
กลาง
๒,๒๒๐
๑.๕๓
๑,๘๓๐
๒.๑๙
ตะวันออกเฉียงเหนือ
๖,๕๐๕
๓.๕๙
๓.๙๕๔
๔.๓๕
เหนือ
๒,๑๖๓
๑.๙๙
๓,๗๗๗
๔.๐๕
ใต้
๒,๔๒๔
๖.๒๓
๓,๐๘๒
๘.๗๓
รวม
๑๓,๓๑๒
๓.๔๗
๑๒,๖๔๓
๕.๐๖

กองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจนในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
ในวโรกาสที่ สมเด็จพระเพทรัตราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงติดตามการดำเนินงานโครงการตามพระราชดำริ และทรงเยี่ยมราษฎรในท้องถิ่นทุรกันดารห่างไกลการคมนาคมได้ทรงโปรดเกล้าฯ ได้จัดหน่วยแพทย์พระราชทานออกบริการตรวจรักษาราษฎรที่มารอเฝ้ารับเสด็จฯ โดยมีคณะแพทย์จากโรงพยาบาลต่างๆ ซึ่งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงได้ร่วมออกหน่วยฯ ด้วย อย่างไรก็ตาม พระองค์ทรงตระหนักดีว่ามีราษฏรส่วนหนึ่ง ที่ไม่มีโอกาสมารับบริการจากหน่วยแพทย์พระราชทานนี้ อาจจะไปรักษาตามโรงพยาบาลในพื้นที่ พระองค์จึงได้พระราชทานเงินให้โรงพยาบาลเหล่านั้น เพื่อจัดตั้ง "กองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจน ในสมเด็จพระเทพรัตราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี" ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้โรงพยาบาลมีเงินทุนพอเพียงที่จะสงเคราะห์คนไข้ที่ยากจนได้ จากการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา สมเด็จพระเทพรัตราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานเงิน จำนวนทั้งสิ้น ๘๙๖,๔๒๕ บาท (ข้อมูลตั้งแต่เดือนเมษายน ๒๕๓๖ ถึงเดือน สิงหาคม ๒๕๓๗) สำหรับจัดตั้ง "กองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะห์คนไข้ยากจนในสมเด็จพระเทพรัตราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี" เป็นจำนวนทั้งสิ้น ๑๑๗ แห่งใน ๓๗ จังหวัดทุกภาคทั่วประเทศ และมีผู้มีจิตศรัทธาร่วมบริจาคสมทบอีก ๔,๕๖๐.๑๐๗ บาท (ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามที่ตอบกลับมาจากโรงพยาบาล ๘๐ แห่ง) ซึ่งโรงพยาบาลที่ได้จัดตั้งกองทุนฯ สามารถนำไปช่วยในการรักษาพยาบาลแก่ผู้ป่วยได้เป็นจำนวนมาก

ค่าใช้จ่ายในการออกหน่วย
๑) ในรอบปีที่ผ่านมา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานเงิน จำนวน ๒๘๐,๕๐๖ ให้สำนักโครงการฯ ดำเนินงานจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ ตลอดจนการดูแลรักษาคลังยา และการเบิกจ่ายยา ต่าง ๆ ด้วย
๒) หน่วยงานอื่น ๆ เช่น กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน สำนักแพทย์ใหญ่กรมตำรวจโรงพยาบาลและสำนักงานสาธารณสุขในพื้นที่ ให้ความสนับสนุนบุคลากร รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงานตามแต่ละสังกัด

ผนวก ๑ รายชื่อโรงพยาบาลที่ออกหน่วยแพทย์พระราชทานปี ๒๕๓๗
โรงพยาบาล
อำเภอ
จังหวัด
๑. รพท.ฉะเชิงเทรา
เมือง
ฉะเชิงเทรา
๒. รพ.บ้านโพธิ์
บ้านโพธิ์
ฉะเชิงเทรา
๓. รพ.บางน้ำเปรี้ยว
น้ำเปรี้ยว
ฉะเชิงเทรา
๔. รพ.แปลงยาว
แปลงยาว
ฉะเชิงเทรา
๕. รพ.พนมสารคาม
พนมสารคาม
ฉะเชิงเทรา
๖. รพท.ลพบุรี
เมือง
ลพบุรี
๗. รพ.ชัยบาดาล
ชัยบาดาล
ลพบุรี
๘. รพท.ปทุมธานี
เมือง
ปทุมธานี
๙. รพ.ลำลูกกา
ลำลูกกา
ปทุมธานี
๑๐. รพ.ธัญบุรี
ธัญบุรี
ปทุมธานี
๑๑. รพท.อำนาจเจริญ
เมือง
อำนาจเจริญ
๑๒. รพ.เสนานิคม
เสนานิคม
อำนาจเจริญ
๑๓. รพ.ชานุมาน
ชานุมาน
อำนาจเจริญ
๑๔. รพ.กุสุมาลย์
กุสุมาลย์
สกลนคร
๑๕. รพ.โพนนาแก้ว
โพนนาแก้ว
สกลนคร
๑๖. รพ.อากาศอำนาย
อากาศอำนวย
สกลนคร
๑๗. รพ.พระอาจารย์ฝั่นอาจาโร
พรรณานิคม
สกลนคร
๑๘. รพ.โคกศรีสุพรรณ
โคกศรีสุพรรณ
สกลนคร
๑๙. รพ.กุดบาก
กุดบาก
สกลนคร
๒๐. รพท.นครพนม
เมือง
นครพนม
๒๑. รพ.ศรีธาตุ
ศรีธาตุ
นครพนม
๒๒. รพร.ธาตุพนม
ธาตุพนม
นครพนม
๒๓. รพ.ศรีสงคราม
ศรีสงคราม
นครพนม
๒๔. รพ.ท่าอุเทน
ท่าอุเทน
นครพนม
๒๕. รพ.วังสามหมอ
วังสามหมอ
อุดรธานี
๒๖. รพ.กุมภวาปี
กุมภวาปี
อุดรธานี
๒๗. รพ.บ้านผือ
บ้านผือ
อุดรธานี
๒๘. รพ.นายูง
นายูง
อุดรธานี
๒๙. รพร.หนองคาย
เมือง
หนองคาย
๓๐. รพ.บึงโขงหลง
บึงโขงหลง
หนองคาย
๓๑. รพ.ปากคาด
ปากคาด
หนองคาย
๓๒. รพ.เซกา
เซกา
หนองคาย
๓๓. รพ.บึงกาฬ
บึงกาฬ
หนองคาย
๓๔. รพร.ด่านซ้าย
ด่านซ้าย
เลย
๓๕. รพ.นาแห้ว
นาแห้ว
เลย
๓๖. รพ.ภูเรือ
ภูเรือ
เลย
๓๗. รพ.เชียงคาน
เชียงคาน
เลย
๓๘. รพ.ปากชม
ปากชม
เลย
๓๙. รพ.ภูกระดึง
ภูกระดึง
เลย
๔๐. รพ.นากลาง
นากลาง
หนองบัวลำภู
๔๑. รพ.สุวรรณคูหา
สุวรรณคูหา
หนองบัวลำภู
๔๒. รพ.โนนสัง
โนนสัง
หนองบัวลำภู
๔๓. รพศ.ขอนแก่น
เมือง
ขอนแก่น
๔๔. รพ.หนองสองห้อง
หนองสองห้อง
ขอนแก่น
๔๕. รพ.บ้านไผ่
บ้านไผ่
ขอนแก่น
๔๖. รพ.แม่และเด็กเมืองพล
พล
ขอนแก่น
๔๗. รพ.พล
พล
ขอนแก่น
๔๘. รพ.น้ำพอง
น้ำพอง
ขอนแก่น
๔๙. รพ.นาโพธิ์
นาโพธิ์
ศรีษะเกษ
๕๐. รพ.พุทไธสง
พุทไธสง
ศรีษะเกษ
๕๑. รพ.สตึก
สตึก
ศรีษะเกษ
๕๒. รพศ.สรรพสิทธิ์ประสงค์
เมือง
อุบลราชธานี
๕๓. รพ.บุญฑริก
บุญฑริก
อุบลราชธานี
๕๔. รพ.ศรีเมืองใหม่
ศรีเมืองใหม่
อุบลราชธานี
๕๕. รพ.โขงเจียม
โขงเจียม
อุบลราชธานี
๕๖. รพ.โพธิ์ไทร
โพธิ์ไทร
อุบลราชธานี
๕๗. รพ.ปาย
ปาย
แม่ฮ่องสอน
๕๘. รพ.ปางมะผ้า
ปางมะผ้า
แม่ฮ่องสอน
๕๙. รพศ.เชียงรายประชานุเคราะห์
เมือง
เชียงราย
๖๐. รพ.แม่สาย
แม่สาย
เชียงราย
๖๑. รพ.แม่จัน
แม่จัน
เชียงราย
๖๒. รพ.เชียงแสน
เชียงแสน
เชียงราย
๖๓. รพ.แม่สอด
แม่สอด
ตาก
๖๔. รพ.แม่ระมาด
แม่ระมาด
ตาก
๖๕. รพ.อุ้มผาง
อุ้มผาง
ตาก
๖๖. รพท.นราธิวาส
เมือง
นราธิวาส
๖๗. รพท.สุไหงโกลก
สุไหโกโลก
นราธิวาส
๖๘. รพ.เรือเสาะ
เรือเสาะ
นราธิวาส
๖๙. รพ.ศรีสาคร
ศรีสาคร
นราธิวาส
๗๐. รพ.ระแงะ
ระแงะ
นราธิวาส
๗๑. รพ.จะแนะ
จะแนะ
นราธิวาส
๗๒. รพ.สุคิริน
สุคิริน
นราธิวาส
๗๓. รพศ.ยะลา
เมือง
ยะลา
๗๔. รพ.บางกล่ำ
บางกล่ำ
สงขลา
๗๕. รพ.เทพา
เทพา
สงขลา
๗๖. รพ.สะเดา
สะเดา
สงขลา
๗๗. รพ.ปาดังเบซาร์
ปาดังเบซาร์
สงขลา
๗๘. รพท.ปัตตานี
เมือง
ปัตตานี
๗๙. รพ.แม่ลาน
แม่ลาน
ปัตตานี
๘๐. รพ.โคกโพธิ์
โคกโพธิ์
ปัตตานี
๘๑. รพ.หนองจิก
หนองจิก
ปัตตานี
๘๒. รพศ.นครศรีธรรมราช
เมือง
นครศรีธรรมราช
๘๓. รพ.ชะอวด
ชะอวด
นครศรีธรรมราช

ผนวก ๒ สถานที่ออกหน่วยแพทย์พระราชทาน ปี ๒๕๓๖
ครั้งที่
วันที่ เดือน ปี
ร.ร./สถานที่
ตำบล
อำเภอ
จังหวัด
๑.
๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๓๕ ตชด.บ้านแม่กลองคี โมโกร อุ้มผาง ตาก
๒.
๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๓๕ ตชด.กามาผาโด้ แม่แกละ ท่าสองยาง ตาก
๓.
๕ มกราคม ๓๕๔๖ ตชด.บ้านหนองแคน หนองแคน นาด้วง เลย
๔.
๖ มกราคม ๒๕๓๖ ตชด.บ้านนาสามัคคี นาทม นาทม เลย
๕.
๑ มีนาคม ๒๕๓๖ ตชด.บ้านแม่ลางิ้ว แม่ลาน้อย แม่ลาน้อย แม่ฮ่องสอน
๖.
๒๕ มีนาคม ๒๕๓๖ ตชด. ปุงยาม นาปู่ป้อม ปางมะผ้า แม่ฮ่องสอน
๗.
๑๖ มีนาคม ๒๕๓๖ บ้านโคกสูง ศรีขรภูมิ กระสัง บุรีรัมย์
๘.
๑๗ เมษายน ๒๕๓๖ ตชด.บ้านโคกแสลง ตาเมียง กาบเชิง สุรินทร์
๙.
๑๗ เมษายน ๒๕๓๖ ตชด.บ้านชำปะโต อาโพน บัวเชด สุรินทร์
๑๐.
๑๘ เมษายน ๒๕๓๖ วัดสระทอง บ้านคู อำเภอนาโพธิ์ บุรีรัมย์
๑๑.
๑๘ เมษายน ๒๕๓๖ บ้านกุดหว้า ดอนคู่ หนองสองห้อง ขอนแก่น
๑๒.
๑๙ เมษายน ๒๕๓๖ บ้านโหง่นขาม หนามแท่ง ศรีเมืองใหม่ อุบลราชธานี
๑๓.
๑๙ เมษายน ๒๕๓๖ บ้านดงนา หนามแท่ง ศรีเมืองใหม่ อุบลราชธานี
๑๔.
๑๙ เมษายน ๒๕๓๖ ตชด.บ้านปากลา นาโพธิ์กลาง โขงเจียม อุบลราชธานี
๑๕.
๒๓ พฤษภาคม ๒๕๓๖ ท่าเทียบเรือบ่อท่อ อ่าวลึกใต้ อ่าวลึก กระบี่
๑๖.
๒๔ พฤษภาคม ๒๕๓๖ ตชด.สันติราษฏร์ประชาบำรุง ปะเหลียน ปะเหลียน ตรัง
๑๗.
๑๐ มิถุนายน ๒๕๓๖ ตชด.สหธนาคารกรุงเทพฯ หนองลู สังขละบุรี กาญจนบุรี
๑๘.
๑๑ มิถุนายน ๒๕๓๖ ตชด.เฮ็งเค็ลไทย(มะเซ่อย่อ) บ้องตี้ ไทรโยค กาญจนบุรี
๑๙.
๑๗ สิงหาคม ๒๕๓๖ ตชด.บ้านควนตะแบก เกาะเต่า ป่าพะยอม พัทลุง
๒๐.
๒๔ สิงหาคม ๒๕๓๖ ตชด.บ้านยูงงาม บางขัน บางขัน นครศรีธรรมราช
๒๑.
๒๐ กันยายน ๒๕๓๖ ตชด.บ้านละโอ ศรีบรรพต ศรีสาคร นราธิวาส
๒๒.
๒๒ กันยายน ๒๕๓๖ ค่ายสิรินธร เขาตูม ยะรัง ปัตตานี
๒๓.
๒๒ กันยายน ๒๕๓๖ แม่ลานวิทยา แม่ลาน แม่ลาน ปัตตานี
๒๔.
๒๗ กันยายน ๒๕๓๖ บ้านเจาะบาแน ลูโบะยิไร มายอ ปัตตานี
๒๕.
๒๘ กันยายน ๒๕๓๖ ตชด.บ้านไอร์บือแต ช้างเผือก จะแนะ นราธิวาส
๒๖.
๒๘ กันยายน ๒๕๓๖ อำเภอจะแนะ จะแนะ จะแนะ นราธิวาส
๒๗.
๒๓ ตุลาคม ๒๕๓๖ ห้องสมุดเฉลิมราษฏร์กุมารี ทะแลชุมศร พัฒนานิคม ลพบุรี
๒๘.
๒๓ ตุลาคม ๒๕๓๖ บ้านมะกอกหวาน ชัยบาดาล ชัยบาดาล ลพบุรี
๒๙.
๒๗ ตุลาคม ๒๕๓๖ รวมราษฏร์สามัคคี บึงคอไห ลำลูกกา ปทุมธานี
๓๐.
๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๖ บ้านนาคำแคน นาสิงห์ ศรีวิไล หนองคาย
๓๑.
๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๓๖ ตชด.นาหัวภู นาโสก เมือง มุกดาหาร
๓๒.
๒๘ ธันวาคม ๒๕๓๖ ตชด.อาทรอุทิศ น้ำกุ่ม นครไทย พิษณุโลก
๓๓.
๒๘ ธันวาคม ๒๕๓๖ ตชด.บ้านรักไทย บ่อภาค ชาติตระการ พิษณุโลก
๓๔.
๓๐ ธันวาคม ๒๕๓๖ บ้านแสมใหญ่ แม่ตื่น แม่ระมาด ตาก
๓๕.
๓๐ ธันวาคม ๒๕๓๖ ตชด.บ้านแพะ แม่ตื่น แม่ระมาด ตาก
๓๖.
๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๗ ตชด. บำรุงที่ ๑๐๕ เมืองนะ เชียงดาว เชียงใหม่
๓๗.
๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๗ ตชด.บ้านแม่ลอง บ้านทับ แม่แจ่ม เชียงใหม่
๓๘.
๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๗ ตชด.สโมสรไลออนส์รัตนโกสินทร์ แม่วิน แม่วาง เชียงใหม่
๓๙.
๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๗ ตชด.เบ็ตตี้ดูเมน ปางพริกใต้ ปง พะเยา
๔๐.
๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๗ ตชด.ผบ.ลูกเสือรถไฟมักกะสัน ชนแดน สองแคว น่าน
๔๑.
๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๗ ตชด.ทุติยะโพธิ์อนุสรณ์ แม่อาย แม่อาย เชียงใหม่
๔๒.
๒ มีนาคม ๒๕๓๗ ตชด.เจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ ๓ แม่สลองใน แม่ฟ้าหลวง เชียงราย
๔๓.
๒ มีนาคม ๒๕๓๗ ตชด.บริษัทค้าวัสดุก่อสร้าง แม่สลองใน แม่ฟ้าหลวง เชียงราย

ผนวก ๓ จำนวนผู้เข้ารับบริการตรวจรักษาทั้งหมด ปี ๒๕๓๖
ครั้งที่
สถานที่
นักเรียน(คน)
ประชาชน(คน)
ทรงรับไว้เป็นผู้ป่วยใน
พระราชานุเคราะห์ (คน)
๑.
ร.ร.ตชด.บ้านแม่กลองคี
๑๓๘
๑๗
๒.
ร.ร.ตชด.กามาผาโด้
๑๘๘
๓.
ร.ร.ตชด.บ้านหนองแคน
๓๕๔
๒๐
๔.
ร.ร.ตชด.บ้านนาสามัคคี
๒๖๙
๒๐
๕.
ร.ร.ตชด.บ้านแม่ลางิ้ว
๒๖๓
๕.
ร.ร.ตชด.บ้านแม่ลางิ้ว
๒๖๓
๖.
ร.ร.ตชด.บ้านปุงยาม
๖๗
๗.
ร.ร.บ้านโคกสูง
๗๙๐
๒๕
๘.
ร.ร.บ้านโคกแสลง
๒๕๓
๑๔
๙.
ร.ร.ตชด.บ้านชำปะโต
๓๙๘
๑๕
๑๐.
วัดสระทอง
๑๗๘
๑๑.
ร.ร.บ้านกุดหว้า
๑๘๐
๑๖
๑๒.
ร.ร.บ้านโหง่นขาม
๒๑๓
๑๓.
ร.ร.บ้านนาดง
๑๕๖
๑๔.
ร.ร.ตชด.ปากลา
๑๘๙
๑๕.
ท่าเทียบเรือบ่อท่อ
๑๐๙
๑๖.
ร.ร.ตชด.สันติราษฏร์ประชาบำรุง
๑๐๕
๒๓๒
๒๑
๑๗.
ร.ร.ตชด.สหธนาคารกรุงเทพฯ
๑๒๘
๒๕๓
๑๘.
ร.ร.ตชด.เฮงเค็ลไทย(มะเซ่อย่อ)
๑๖๘
๓๑๑
๑๙.
ร.ร.ตชด.บ้านควนตะแบก
๕๔
๔๒๑
๑๓
๒๐.
ร.ร.ตชด.บ้านยูงงาม
๑๑๒
๑๑๒
๑๖
๒๑.
ร.ร.ตชด.บ้านละโอ
๗๙
๑๔๗
๑๙
๒๒.
ค่ายสิรินธร
๑๗๐
๖๐
๒๓.
ร.ร.แม่ลานวิทยา
๑๓๐
๒๒๗
๑๗
๒๔.
ร.ร.บ้านเจาะบาแน
๖๔
๓๖๗
๕๙
๒๕.
ร.ร.ตชด.ไอร์บือแต
๗๑
๑๒๑
๒๖.
อ.จะแนะ
๑๘
๕๔๓
๕๒
๒๗.
ห้องสมุดเฉลิมราชกุมารี อ.พัฒนานิคม
๔๖
๒๘.
ร.ร.รวมราษฏร์สามัคคี
๒๓๐
๑๖
๓๐.
ร.ร.ตชด.บ้านนาหัวภู
๖๙
๒๙๓
๒๓
๓๑.
ร.ร.ตชด.อาทรอุทิศ
๙๔
๑๔
๓๒.
ร.ร.ตชด.บ้านรักไทย
๕๖
๑๘๙
๑๗
๓๓.
บ้านแสมใหญ่
๑๔๘
๑๖
๓๔.
ร.ร.ตชด.บ้านแพะ
๗๓
๑๒๖
๓๕.
ร.ร.ตชด.บำรุงที่ ๑๐๕
๑๖๔
๑๒๓
๓๖.
ร.ร.ตชด.บ้านแม่ลอง
๙๗
๗๗
๓๗.
ร.ร.ตชด.สโมสรไลออนส์รัตนโกสินทร์
๗๘
๑๒๗
๑๐
๓๘.
ร.ร.ตชด.เบ็ตตี้ดูเมน
๑๘๐
๒๖๙
๑๘
๓๙.
ร.ร.ตชด.ผบ.ลูกเสือรถไฟมักกะสัน
๕๒
๑๒๘
๔๐.
ร.ร.ตชด.ทุติยะโพธิ์หลวงอนุสรณ์
๑๘๐
๓๗๙
๑๕
๔๑.
ร.ร.ตชด.เจ้าพ่อหลวงอุปภัมภ์ ๓
๑๘๐
๓๗๙
๑๕
๔๒.
ร.ร.ตชด.บริษัทค้าวัสดุก่อสร้าง
๑๕๘
๒๒๔
 
รวม
๒,๔๓๔
๑๐,๒๐๙
๖๓๔

หน้าต่อไป

แหล่งอ้างอิง: สำนักงานโครงการส่วนพระองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี. (๓๕)
(ท๒๖ ส๖๕๒๒ ๒๕๓๗)